กระทู้ธรรม ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันอังคาร ที่ ๒๕ พฤศจิกายน
พ.ศ. ๒๕๕๑
เวลา
๐๘.๓๐ น.
สุโข ปุญฺญสฺส อุจฺจโย.
ความสั่งสมขึ้นซึ่งบุญ นำสุขมาให้.
-------------------- |
|
แต่งอธิบายให้สมเหตุสมผล
อ้างสุภาษิตอื่นมาประกอบด้วย ๑ ข้อ และบอกชื่อคัมภีร์ที่มาแห่งสุภาษิตนั้นด้วย สุภาษิตที่อ้างมานั้น
ต้องเรียงเชื่อมความให้ติดต่อสมเรื่องกับกระทู้ตั้ง. |
ชั้นนี้
กำหนดให้เขียนลงในใบตอบ ตั้งแต่ ๒ หน้า (เว้นบรรทัด) ขึ้นไป
|
-------------------- |
ให้เวลา ๓ ชั่วโมง
|
ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันอังคาร ที่ ๒๕ พฤศจิกายน
พ.ศ. ๒๕๕๑
เวลา
๑๓.๐๐ น.
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว
แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ
ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑. ผู้ไม่รอบคอบทำงานผิดพลาด เพราะขาดธรรมหมวดไหน
?
ก. ธรรมมีอุปการะมาก ข. ธรรมเป็นโลกบาล
ค. ธรรมอันทำให้งาม ง.
ธรรมเป็นเครื่องเจริญ
คำตอบ : ก
๒. สติ ควรใช้เมื่อใด ?
ก. ก่อนทำ พูด คิด ข. ขณะทำ พูด คิด
ค. หลังทำ พูด คิด ง. ในกาลทุกเมื่อ
คำตอบ : ง
๓. ข้อใด
เป็นผลของสติและสัมปชัญญะ ?
ก. ให้เป็นคนรอบรู้ ข. ให้เป็นคนรอบคอบ
ค. ให้เป็นคนรอบด้าน ง. ให้เป็นคนรอบจัด
คำตอบ : ข
๔. คนประมาท เพราะขาดธรรมอะไร ?
ก. สติ สัมปชัญญะ ข. หิริ โอตตัปปะ
ค. ขันติ โสรัจจะ ง. กตัญญูกตเวที
คำตอบ : ก
๕. อะไร บั่นทอนสติและสัมปชัญญะ ?
ก. ยาสูบ ข. ยานัตถุ์
ค. ยาบ้า ง. ยาชูกำลัง
คำตอบ : ค
๖. หิริ ตรงกับข้อใด ?
ก. ละอายเพื่อน ข. ละอายใจ
ค. กลัวบาป ง. กลัวถูกลงโทษ
คำตอบ : ข
๗. การก่อการร้ายเป็นเหตุให้โลกเดือดร้อน
เพราะขาดธรรมข้อใด ?
ก. สติ สัมปชัญญะ ข. หิริ โอตตัปปะ
ค. ฉันทะ วิริยะ ง. ขันติ โสรัจจะ
คำตอบ : ข
๘. ยิ้มได้เมื่อภัยมา เป็นลักษณะของคนมีธรรมข้อใด ?
ก. สติ สัมปชัญญะ ข. หิริ โอตตัปปะ
ค. เมตตา กรุณา ง. ขันติ โสรัจจะ
คำตอบ : ง
๙. ข้อใด ไม่ใช่ลักษณะของขันติ ?
ก. ทนทำงาน ข. ทนต่อคำด่า
ค. ทนเล่นเกมส์ ง. ทนเจ็บป่วย
คำตอบ : ค
๑๐. ผู้ทำอุปการะโดยไม่หวังสิ่งตอบแทน คือใคร ?
ก. เพื่อนสนิท ข. ญาติสนิท
ค. บุตรธิดา ง. บิดามารดา
คำตอบ : ง
๑๑. กตัญญูกตเวที หมายถึงใคร ?
ก. ผู้ทำคุณก่อน ข. ผู้รู้จักตอบแทนคุณ
ค. ผู้ประพฤติดี ง. ผู้มีความรับผิดชอบ
คำตอบ : ข
๑๒. ผู้รู้ดีรู้ขอบและสอนผู้อื่นให้ปฏิบัติตาม
คือใคร ?
ก. พระพุทธเจ้า ข. พระปัจเจกพุทธเจ้า
ค. พระอรหันต์ ง. สาวกของพระพุทธเจ้า
คำตอบ : ก
๑๓. ข้อใดเป็นคุณของพระธรรม ?
ก. แนะนำดี ข. ชี้ทางสวรรค์
ค. ป้องกันอบาย ง. ให้หายยากจน
คำตอบ : ค
๑๔. ข้อใดเป็นคุณของพระสงฆ์ ?
ก. ให้ร่ำรวย ข. ให้มีความสุข
ค. สอนให้ทำความดี ง. ไม่ให้ตกนรก
คำตอบ : ค
๑๕. การฝึกสมาธิ
ชื่อว่าปฏิบัติตามโอวาทของพระพุทธเจ้าข้อใด ?
ก. เว้นทุจริต ข. ประกอบสุจริต
ค. ทำใจให้ผ่องใส ง. เว้นอบายมุข
คำตอบ : ค
๑๖. โอวาทของพระพุทธเจ้า
ข้อว่าไม่ทำความชั่วทั้งปวง ตรงกับข้อใด ?
ก. ศีล ข. สมาธิ
ค. ปัญญา ง. ไตรสิกขา
คำตอบ : ก
๑๗. การประพฤติสุจริต ตรงกับข้อใด ?
ก. ทำดี ข. พูดดี
ค. คิดดี ง. ทำดี พูดดี คิดดี
คำตอบ : ง
๑๘. ความดีความชั่วต่างกันอย่างไร ?
ก. การกระทำ ข. คำยกย่อง
ค. ผลที่ได้รับ ง. กาลเวลา
คำตอบ : ค
๑๙. หมู่คณะแตกร้าว เพราะวจีทุจริตข้อใด ?
ก. พูดเท็จ ข. พูดส่อเสียด
ค. พูดทำหยาบ ง. พูดเพ้อเจ้อ
คำตอบ : ข
๒๐. คนไม่รู้จักพอในปัจจัย ๔ ตรงกับข้อใด ?
ก. คนมีโลภะ ข. คนมีโทสะ
ค. คนมีโมหะ ง. คนมีราคะ
คำตอบ : ก
๒๑. คนไม่รู้เหตุ ไม่รู้ผล ไม่รู้ดี ไม่รู้ชั่ว
จัดเป็นคนเช่นไร ?
ก. คนมีราคะ ข. คนมีโลภะ
ค. คนมีโทสะ ง. คนมีโมหะ
คำตอบ : ง
๒๒. ข้อใด เป็นบัญญัติของสัตบุรุษ ?
ก. ศึกษาเล่าเรียน ข. ประกอบสัมมาชีพ
ค. บำรุงบิดามารดา ง. ปฏิบัติชอบ
คำตอบ : ค
๒๓. ข้อใด เป็นความหมายของคำว่าบุญ ?
ก. ชำระกิเลส ข. ตัดกรรม
ค. ฝึกตน ง.
กำจัดภัย
คำตอบ : ก
๒๔. การบริจาคสิ่งของช่วยผู้ประสบภัย จัดเข้าในข้อใด ?
ก. ทานมัย ข. สีลมัย
ค. ภาวนามัย ง. อปจายนมัย
คำตอบ : ก
๒๕. คบคนดี ฟังวจีท่าน วิจารณ์ปฏิบัติ ตรงกับข้อใด ?
ก. วุฒิธรรม ข. จักรธรรม
ค. อิทธิบาทธรรม ง. สัปปุริสธรรม
คำตอบ : ก
๒๖. การตั้งตนไว้ชอบ หมายถึงประพฤติเช่นไร ?
ก. ถูกใจเรา ข. ถูกกาลเทศะ
ค. ถูกใจเขา ง. ถูกศีลธรรม
คำตอบ : ง
๒๗. ข้อใด ทำให้เกียรติยศดับสูญดุจจันทร์แรม ?
ก. อคติ ๔ ข. จักร ๔
ค. ปธาน ๔ ง. อิทธิบาท ๔
คำตอบ : ก
๒๘. ผู้ใหญ่วางตนอย่างไร
จึงเป็นที่เคารพยกย่องของผู้น้อย ?
ก. เว้นอคติ ข. เว้นพรหมวิหาร
ค. เว้นอิทธิบาท ง. เว้นสังคหวัตถุ
คำตอบ : ก
๒๙. คนที่รักทำผิดไม่ลงโทษ จัดเข้าในข้อใด ?
ก. ภยาคติ ข. ฉันทาคติ
ค. โทสาคติ ง. โมหาคติ
คำตอบ : ข
๓๐. ความอยุติธรรมอันเกิดจากไม่รู้ข้อมูลที่แท้จริง
ตรงกับข้อใด ?
ก. ฉันทาคติ ข. โทสาคติ
ค. โมหาคติ ง. ภยาคติ
คำตอบ : ค
๓๑. ข้อใดตรงกับภาวนาปธาน ?
ก. เพียรระวังมิให้บาปเกิดขึ้น ข. เพียรละบาปที่เกิดแล้ว
ค. เพียรให้กุศลเกิด ง. เพียรรักษากุศลมิให้เสื่อม
คำตอบ : ค
๓๒. สงบจิต พิชิตกิเลส หมายถึงอธิษฐานธรรมข้อใด ?
ก. สัจจะ ข. จาคะ
ค. ปัญญา ง. อุปสมะ
คำตอบ : ง
๓๓. นักกีฬาฝึกฝนประสบความสำเร็จ เพราะมีธรรมข้อใด ?
ก. จักร ๔ ข. อิทธิบาท ๔
ค. วุฒิ ๔ ง. ปธาน ๔
คำตอบ : ข
๓๔. เมตตา มีความหมายตรงกับข้อใด ?
ก. ปรารถนาให้เป็นสุข ข. คิดช่วยให้พ้นทุกข์
ค. พลอยยินดี ง. ไม่ยินดียินร้าย
คำตอบ : ก
๓๕. เห็นเพื่อนได้เหรียญทอง
ควรเจริญพรหมวิหารข้อใด ?
ก. เมตตา ข. กรุณา
ค. มุทิตา ง. อุเบกขา
คำตอบ : ค
๓๖. ไม่เสียใจเมื่อผู้อื่นถึงความวิบัติ
ชื่อว่าเจริญพรหมวิหารข้อใด
?
ก. เมตตา ข. กรุณา
ค. มุทิตา ง. อุเบกขา
คำตอบ : ง
๓๗. ความไม่สบายกายไม่สบายใจ ชื่อว่าทุกข์
เพราะเหตุใด ?
ก. ทนได้ยาก ข.
เห็นได้ยาก
ค. รักษาได้ยาก ง.
ติดตามได้ยาก
คำตอบ : ก
๓๘. กรรมข้อใด ห้ามสวรรค์ ห้ามนิพพาน ?
ก. อกุศลธรรม ข. อนันตริยกรรม
ค. อาสันนกรรม ง.
อโหสิกรรม
คำตอบ : ข
๓๙. อนันตริยกรรม ๕ ให้ผลอย่างไร ?
ก. เกิดเป็นเปรต
ข. เกิดเป็นอสูรกาย
ค. ตกนรกอเวจี ง. เกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน
คำตอบ : ค
๔๐. การพิจารณากรรมเนืองๆ
มีประโยชน์อย่างไร ?
ก. บรรเทาความเห็นผิด ข. บรรเทาความเมาในวัย
ค. บรรเทาความถือมั่น ง. บรรเทาความเมาในชีวิต
คำตอบ : ก
๔๑. ได้รู้เรื่องใหม่ เข้าใจเรื่องเก่า
บรรเทาสงสัย เป็นผลของอะไร ?
ก. ฟังธรรม ข. คบสัตบุรุษ
ค. ทำบุญ ง.
บำเพ็ญภาวนา
คำตอบ : ก
๔๒. อยู่ให้เขาสบายใจ ไปให้เขาคิดถึง
เพราะมีธรรมข้อใด ?
ก. พรหมวิหาร ข.
สาราณิยธรรม
ค. คารวะ ง.
สัปปุริสธรรม
คำตอบ : ข
๔๓. คนที่ใช้ชีวิตแบบพอเพียง ตรงกับหลักธรรมข้อใด ?
ก. ธัมมัญญุตา ข.
อัตถัญญุตา
ค. มัตตัญญุตา ง.
อัตตัญญุตา
คำตอบ : ค
๔๔. เมื่อประสบโลกธรรม ๘ ควรทำอย่างไร ?
ก. ยินดีในสิ่งที่ดี ข. ไม่ยอมรับสิ่งร้าย
ค. รู้เท่าทันตามจริง ง. ยอมรับทั้งดีทั้งร้าย
คำตอบ : ค
๔๕. บุญสำเร็จด้วยการช่วยขวยขวายในกิจที่ชอบ
ตรงกับข้อใด ?
ก. อปาจยนมัย ข. เวยยาวัจจมัย
ค. ธัมมเทสนามัย ง. ธัมมัสสวนมัย
คำตอบ : ข
๔๖. มีสุขร่วมเสพมีทุกข์ร่วมด้าน
เป็นลักษณะของมิตรประเภทใด ?
ก. มิตรมีอุปการะ
ข.
มิตรแนะประโยชน์
ค. มิตรปฏิรูป
ง. มิตรมีความรักใคร่
คำตอบ : ง
๔๗. เพื่อนที่ดี ไม่ควรปฏิบัติต่อเพื่อนอย่างไร ?
ก. ตายแทนได้ ข. ตามใจทุกอย่าง
ค. คอยเตือนสติ ง.
ไม่มีความลับต่อกัน
คำตอบ : ข
๔๘. นิยมยกย่อง ปกป้องเชิดชูครู ไม่เจ้าชู้นอกใจ
เป็นหน้าที่ของใคร ?
ก. สามี ข. ภรรยา
ค. นาย ง. ครูอาจารย์
คำตอบ : ก
๔๙. เมื่อแพ้ย่อมเสียดายทรัพย์
เป็นโทษของอบายมุขข้อใด ?
ก. ดื่มน้ำเมา ข. เที่ยวกลางคืน
ค. เที่ยวดูการละเล่น ง. เล่นการพนัน
คำตอบ : ง
๕๐. เกิดโรค ไม่รู้จักอาย ทอนกำลังสติปัญญา
ตรงกับข้อใด ?
ก. ดื่มน้ำเมา ข. เที่ยวกลางคืน
ค. เที่ยวดูการละเล่น ง. เล่นพนัน
คำตอบ : ก
*** ***
***
เฉลยวิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันอังคาร ที่ ๒๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๑
๑. |
ก |
๑๑. |
ข |
๒๑. |
ง |
๓๑. |
ค |
๔๑. |
ก |
๒. |
ง |
๑๒. |
ก |
๒๒. |
ค |
๓๒. |
ง |
๔๒. |
ข |
๓. |
ข |
๑๓. |
ค |
๒๓. |
ก |
๓๓. |
ข |
๔๓. |
ค |
๔. |
ก |
๑๔. |
ค |
๒๔. |
ก |
๓๔. |
ก |
๔๔. |
ค |
๕. |
ค |
๑๕. |
ค |
๒๕. |
ก |
๓๕. |
ค |
๔๕. |
ข |
๖. |
ข |
๑๖. |
ก |
๒๖. |
ง |
๓๖. |
ง |
๔๖. |
ง |
๗. |
ข |
๑๗. |
ง |
๒๗. |
ก |
๓๗. |
ก |
๔๗. |
ข |
๘. |
ง |
๑๘. |
ค |
๒๘. |
ก |
๓๘. |
ข |
๔๘. |
ก |
๙. |
ค |
๑๙. |
ข |
๒๙. |
ข |
๓๙. |
ค |
๔๙. |
ง |
๑๐. |
ง |
๒๐. |
ก |
๓๐. |
ค |
๔๐. |
ก |
๕๐. |
ก |
ปัญหาและเฉลยวิชาพุทธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันอังคาร ที่ ๒๕ พฤศจิกายน
พ.ศ. ๒๕๕๑
เวลา
๑๔.๐๐ น.
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว
แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ
ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
คำตอบ : ข
คำตอบ : ง
คำตอบ : ก
คำตอบ : ง
คำตอบ : ค
คำตอบ : ค
คำตอบ : ข
คำตอบ : ค
คำตอบ : ง
คำตอบ : ก
คำตอบ : ข
คำตอบ : ง
คำตอบ : ก
คำตอบ : ง
คำตอบ : ค
คำตอบ : ค
คำตอบ : ง
คำตอบ : ง
คำตอบ : ข
คำตอบ : ก
คำตอบ : ข
คำตอบ : ง
คำตอบ : ก
คำตอบ : ค
คำตอบ : ข
คำตอบ : ก
คำตอบ : ค
คำตอบ : ข
คำตอบ : ข
คำตอบ : ง
คำตอบ : ค
คำตอบ : ข
คำตอบ : ค
คำตอบ : ก
คำตอบ : ข
คำตอบ : ง
คำตอบ : ค
คำตอบ : ข
คำตอบ : ง
คำตอบ : ค
คำตอบ : ง
คำตอบ : ข
คำตอบ : ง
คำตอบ : ค
คำตอบ : ค
คำตอบ : ง
คำตอบ : ง
คำตอบ : ค
คำตอบ : ข
คำตอบ : ค
*** ***
***
เฉลยวิชาพุทธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันอังคาร ที่ ๒๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๑
๑. |
ข |
๑๑. |
ข |
๒๑. |
ข |
๓๑. |
ค |
๔๑. |
ง |
๒. |
ง |
๑๒. |
ง |
๒๒. |
ง |
๓๒. |
ข |
๔๒. |
ข |
๓. |
ก |
๑๓. |
ก |
๒๓. |
ก |
๓๓. |
ค |
๔๓. |
ง |
๔. |
ง |
๑๔. |
ง |
๒๔. |
ค |
๓๔. |
ก |
๔๔. |
ค |
๕. |
ค |
๑๕. |
ค |
๒๕. |
ข |
๓๕. |
ข |
๔๕. |
ค |
๖. |
ค |
๑๖. |
ค |
๒๖. |
ก |
๓๖. |
ง |
๔๖. |
ง |
๗. |
ข |
๑๗. |
ง |
๒๗. |
ค |
๓๗. |
ค |
๔๗. |
ง |
๘. |
ค |
๑๘. |
ง |
๒๘. |
ข |
๓๘. |
ข |
๔๘. |
ค |
๙. |
ง |
๑๙. |
ข |
๒๙. |
ข |
๓๙. |
ง |
๔๙. |
ข |
๑๐. |
ก |
๒๐. |
ก |
๓๐. |
ง |
๔๐. |
ค |
๕๐. |
ค |
ปัญหาและเฉลยวิชาเบญจศีล-เบญจธรรม ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันอังคาร ที่ ๒๕ พฤศจิกายน
พ.ศ. ๒๕๕๑
เวลา
๑๕.๐๐ น.
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว
แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ
ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
คำตอบ : ข
คำตอบ : ค
คำตอบ : ข
คำตอบ : ง
คำตอบ : ค
คำตอบ : ก
คำตอบ : ง
คำตอบ : ก
คำตอบ : ค
คำตอบ : ข
คำตอบ : ง
คำตอบ : ข
คำตอบ : ค
จัดเป็นการกระทำประเภทใด ?
คำตอบ : ง
คำตอบ : ค
คำตอบ : ค
คำตอบ : ก
คำตอบ : ค
คำตอบ : ข
คำตอบ : ค
คำตอบ : ก
คำตอบ : ง
คำตอบ : ข
คำตอบ : ข
คำตอบ : ก
คำตอบ : ข
คำตอบ : ข
คำตอบ : ง
เพื่อหลอกให้คนหลงเชื่อ จัดเป็นมุสาประเภทใด ?
คำตอบ : ง
คำตอบ : ข
คำตอบ : ค
คำตอบ : ก
คำตอบ : ง
คำตอบ : ก
คำตอบ : ง
คำตอบ : ก
คำตอบ : ข
คำตอบ : ง
คำตอบ : ง
คำตอบ : ก
คำตอบ : ข
คำตอบ : ค
ชื่อว่าประพฤติไม่เป็นธรรมในอะไร ?
คำตอบ : ข
คำตอบ : ข
คำตอบ : ข
คำตอบ : ง
คำตอบ : ก
ตรงกับข้อใด ?
คำตอบ : ค
ชื่อว่ามีสติรอบคอบในเรื่องใด ?
คำตอบ : ค
คำตอบ : ข
*** *** ***
เฉลยวิชาเบญจศีล-เบญจธรรม
(วินัย) ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันอังคาร ที่ ๒๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๑
๑. |
ข |
๑๑. |
ง |
๒๑. |
ก |
๓๑. |
ค |
๔๑. |
ข |
๒. |
ค |
๑๒. |
ข |
๒๒. |
ง |
๓๒. |
ก |
๔๒. |
ค |
๓. |
ข |
๑๓. |
ค |
๒๓. |
ข |
๓๓. |
ง |
๔๓. |
ข |
๔. |
ง |
๑๔. |
ง |
๒๔. |
ข |
๓๔. |
ก |
๔๔. |
ข |
๕. |
ค |
๑๕. |
ค |
๒๕. |
ก |
๓๕. |
ง |
๔๕. |
ข |
๖. |
ก |
๑๖. |
ค |
๒๖. |
ข |
๓๖. |
ก |
๔๖. |
ง |
๗. |
ง |
๑๗. |
ก |
๒๗. |
ข |
๓๗. |
ข |
๔๗. |
ก |
๘. |
ก |
๑๘. |
ค |
๒๘. |
ง |
๓๘. |
ง |
๔๘. |
ค |
๙. |
ค |
๑๙. |
ข |
๒๙. |
ง |
๓๙. |
ง |
๔๙. |
ค |
๑๐. |
ข |
๒๐. |
ค |
๓๐. |
ข |
๔๐. |
ก |
๕๐. |
ข |
กระทู้ธรรม ธรรมศึกษาชั้นโท
สอบในสนามหลวง
วันอังคาร ที่ ๒๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๑
เวลา
๐๘.๓๐ น.
อถ ปาปานิ กมฺมานิ กรํ พาโล น พุชฺฌติ
เสหิ กมฺเมหิ ทุมฺเมโธ อคฺคิทฑฺโฒว
ตปฺปติ.
เมื่อคนโง่มีปัญญาทราม ทำกรรมชั่วอยู่ก็ไม่รู้สึก
เขาเดือดร้อน เพราะกรรมของตน เหมือนถูกไฟไหม้.
(พุทฺธ) ขุ.ธ. ๒๕/๓๓.
-------------------- |
|
แต่งอธิบายเป็นทำนองเทศนาโวหาร
อ้างสุภาษิตอื่นมาประกอบไม่น้อยกว่า ๒ ข้อ
และบอกชื่อคัมภีร์ที่มาแห่งสุภาษิตนั้นด้วย ห้ามอ้างสุภาษิตซ้ำข้อกันแต่จะซ้ำคัมภีร์ได้
ไม่ห้าม สุภาษิตที่อ้างมานั้น ต้องเรียงเชื่อมความให้ติดต่อสมเรื่องกับกระทู้ตั้ง. |
ชั้นนี้
กำหนดให้เขียนลงในใบตอบ ตั้งแต่ ๓ หน้า (เว้นบรรทัด) ขึ้นไป
|
-------------------- |
ให้เวลา ๓ ชั่วโมง
|
ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นโท
สอบในสนามหลวง
วันอังคาร ที่ ๒๕ พฤศจิกายน
พ.ศ. ๒๕๕๑
เวลา
๑๓.๐๐ น.
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว
แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ
ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑. ข้อใดเป็นความหมายของคำว่า
สมถะ ?
ก. อุบายเรืองปัญญา ข. อุบายสงบกาย
ค. อุบายสงบใจ ง. อุบายสงบวาจา
คำตอบ : ค
๒. จะรู้แจ้งสรรพสิ่งตามเป็นจริง
ต้องเจริญกัมมัฏฐานอะไร ?
ก. อนุสสติกัมมัฏฐาน ข.
สมถกัมมัฏฐาน
ค. วิปัสสนากัมมัฏฐาน ง. อสุภกัมมัฏฐาน
คำตอบ : ค
๓. ผู้ลุ่มหลงอยู่กับการเล่นเกมส์
เพราะถูกกิเลสกามข้อใดครอบงำ
?
ก. โลภะ ข. โทสะ
ค. โมหะ ง. อรติ
คำตอบ : ค
๔. กามเป็นเหตุให้สัตว์หลงติดอยู่ในโลก
เรียกว่าอะไร ?
ก. กามาสวะ ข. กามคุณ
ค. กามกิเลส ง. กามตัณหา
คำตอบ : ข
๕. การนำดอกไม้ไปไหว้พระพุทธรูป จัดเป็นการบูชาประเภทใด ?
ก. สักการะบูชา ข. พุทธบูชา
ค. ปฏิบัติบูชา ง. อามิสบูชา
คำตอบ : ง
๖. ปูชนียบุคคล ในเรื่องบูชา ๒
หมายถึงบุคคลประเภทใด ?
ก. คนร่ำรวยทรัพย์ ข. คนปฏิบัติตามกฎหมาย
ค. คนวางตนน่ายกย่อง ง. คนเรียนจบระดับสูง
คำตอบ : ค
๗. เมื่อมีผู้มาเยือน
ควรต้อนรับตามหลักปฏิสันถารอย่างไร ?
ก. ถามถึงธุระที่มาเยือน ข. ถามถึงสิ่งที่ต้องการ
ค. แนะนำประโยชน์ให้ ง. ต้อนรับให้สมแก่ฐานะ
คำตอบ : ง
๘. การต้อนรับผู้มาเยือนข้อใด เรียกว่า
ธรรมปฏิสันถาร ?
ก. มอบหนังสือธรรมะให้ ข. ชวนให้ปฏิบัติธรรม
ค. มอบพระเครื่องให้ ง. กล่าวธรรมให้ฟัง
คำตอบ : ง
๙. ความไม่มีโรค เป็นลาภอันประเสริฐ
สงเคราะห์เข้าในสุขข้อใด ?
ก. สุขทางกาย ข. สุขทางใจ
ค. สุขอิงอามิส ง. สุขไม่อิงอามิส
คำตอบ : ก
๑๐. เมื่อเกิดกามวิตกขึ้น จะมีพฤติกรรมเช่นใด ?
ก. อยากได้ของผู้อื่น ข. อยากเป็นใหญ่เป็นโต
ค. อยากมีชื่อเสียง ง. อยากให้คนยกย่อง
คำตอบ : ก
๑๑. ผู้มีเนกขัมมวิตก มักมีความคิดเช่นใด ?
ก. คิดออกบวช ข. คิดเข้าวัดฟังธรรม
ค. คิดบริจาคทาน ง. คิดรักษาศีลอุโบสถ
คำตอบ : ก
๑๒. การครุ่นคิดวางแผนใส่ร้ายผู้อื่น
จัดเป็นอกุศลวิตกข้อใด
?
ก. กามวิตก ข. พยาบาทวิตก
ค. วิหิงสาวิตก ง. อวิหิงสาวิตก
คำตอบ : ข
๑๓. อาการหงุดหงิดเกิดขึ้นในใจ จัดเป็นไฟชนิดใด ?
ก. ไฟสุ่มทรวง ข. ไฟริษยา
ค. ไฟโทสะ ง. ไฟโมหะ
คำตอบ : ค
๑๔. พฤติกรรมเช่นใด จัดเป็นลักษณะของไฟคือราคะ ?
ก. ล่วงละเมิดทางเพศ ข. ละเมิดสิทธิส่วนบุคคล
ค. แสดงอารยะขัดขืน ง. แสดงความหึงหวง
คำตอบ : ก
๑๕. พฤติกรรมเช่นใด จัดเป็นลักษณะของไฟคือโมหะ ?
ก. ไม่มีระเบียบวินัย ข.
ไม่รู้จักผิดชอบชั่วดี
ค. ไม่มีสมบัติผู้ดี ง.
ไม่รับผิดชอบหน้าที่
คำตอบ : ข
๑๖. ประชาธิปไตยไม่พัฒนา เพราะขาดอธิปเตยยะข้อใด ?
ก. อัตตาธิปเตยยะ ข. โลกาธิปเตยยะ
ค. ธัมมาธิปเตยยะ ง. อนาธิปเตยยะ
คำตอบ : ค
๑๗. การปกครองที่ถือเสียงข้างมาก จัดเข้าในข้อใด ?
ก. อัตตาธิปเตยยะ ข. โลกาธิปเตยยะ
ค. ธัมมาธิปเตยยะ ง. อนาธิปเตยยะ
คำตอบ : ข
๑๘. ปัญญาหยั่งรู้ว่า การเกิดเป็นทุกข์
จัดเป็นญานอะไร ?
ก. สัจจญาณ ข. กิจจญาณ
ค. กตญาณ ง. มัคคญาณ
คำตอบ : ก
๑๙. แย่งอำนาจกันครอง จัดเป็นตัณหาชนิดใด ?
ก. กามตัณหา ข. ภวตัณหา
ค. วิภวตัณหา ง. กิเลสตัณหา
คำตอบ : ข
๒๐. ไม่อยากแก่ ไม่อยากตาย จัดเป็นตัณหาประเภทใด ?
ก. กามตัณหา ข. ภวตัณหา
ค. วิภวตัณหา ง. กิเลสตัณหา
คำตอบ : ค
๒๑. เกรดตกอกหกรักคุด แล้วฆ่าตัวตาย
จัดเป็นตัณหาประเภทใด ?
ก. กามตัณหา ข. ภวตัณหา
ค. วิภวตัณหา ง. กิเลสตัณหา
คำตอบ : ค
๒๒. พระพุทธเจ้าทรงยกย่องปาฏิหาริยะประเภทใด ?
ก. อิทธิปาฏิหาริยะ ข. อาเทสนาปาฏิหาริยะ
ค. ยมกปาฏิหาริยะ ง. อนุสาสนีปาฏิหาริยะ
คำตอบ : ง
๒๓. ข้อใด เป็นอำนาจอัศจรรย์ของอาเทสนาปาฏิหาริย์ ?
ก. ล่องหนได้ ข. ทายใจคนได้
ค. ดำดินได้ ง. เหยียบน้ำทะเลจืด
คำตอบ : ข
๒๔. การสงเคราะห์ช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์
จัดเข้าในข้อใด ?
ก. โลกัตถจริยา ข. ญาตัตถจริยา
ค. พุทธัตถจริยา ง. ธัมมจริยา
คำตอบ : ก
๒๕. ข้อใด เป็นการเวียนว่ายตายเกิด ?
ก. กิเลสตัณหา ข.
กิเลส กรรม วิบาก
ค. ทำความชั่วไว้ ง.
ต้องรับผลกรรม
คำตอบ : ข
๒๖. ข้อใด เป็นความหมายของคำว่า สิกขา
ในพระพุทธศาสนา ?
ก. ศึกษาเล่าเรียน ข. ฝึกซ้อมภาคปฏิบัติ
ค. ฝึกหัดกาย วาจา ใจ ง. ฝึกหัดทำสมาธิ
คำตอบ : ค
๒๗. อานิสงส์ของการปฏิบัติไตรสิกขา คือข้อใด ?
ก. กำจัดทุกข์ ข. กำจัดโศก
ค. กำจัดภัย ง. กำจัดกิเลส
คำตอบ : ง
๒๘. ภูมิอันหาความเจริญมิได้ เรียกว่าอะไร ?
ก. อสูรกายภูมิ ข. นรกภูมิ
ค. อบายภูมิ ง. ดิรัจฉานภูมิ
คำตอบ : ค
๒๙. คบคนพาล พาลพาไปหาผิด ควรใช้อปัสเสนธรรมข้อใด ?
ก. พิจารณาแล้วเสพ ข. พิจารณาแล้วเว้น
ค. พิจารณาแล้วอดกลั้น ง. พิจารณาแล้วบรรเทา
คำตอบ : ข
๓๐. เมตตา ควรแผ่ให้บุคคลจำพวกใด ?
ก. ทุกจำพวก ข. ผู้ประสบทุกข์
ค. ผู้ประสบสุข ง. ผู้ที่ตายแล้ว
คำตอบ : ก
๓๑. กรุณา ควรแผ่ให้บุคคลจำพวกใด ?
ก. ทุกจำพวก ข. ผู้ประสบทุกข์
ค. ผู้ประสบสุข ง. ผู้ที่ตายแล้ว
คำตอบ : ข
๓๒. โสดาบันบุคคล ได้แก่บุคคลประเภทใด ?
ก. ผู้สิ้นกิเลส ข.
ผู้ห่างไกลกิเลส
ค. ผู้ไม่กลับมาเกิดอีก ง. ผู้ถึงกระแสนิพพาน
คำตอบ : ง
๓๓. ผู้ละกามราคะ และปฏิฆะได้เด็ดขาด คือใคร ?
ก. พระโสดาบัน ข. พระสกทาคามี
ค. พระอนาคามี ง. พระอรหันต์
คำตอบ : ค
๓๔. เทศนาที่ขัดเกลาจิตมิให้เป็นคนหยาบกระด้าง ตรงกับข้อใด ?
ก. ทานกถา ข. สีลกถา
ค. สัคคกถา ง.
กามทีนวกถา
คำตอบ : ข
๓๕. ผู้ประกอบด้วยวัณณมัจฉริยะ มีพฤติกรรมเช่นใด ?
ก. หวงแหนตระกูล ข. กลัวคนอื่นได้ดีกว่า
ค. เห็นแก่ตัว ง. หาผลประโยชน์ใส่ตัว
คำตอบ : ข
๓๖. อาการปวดศรีษะ จัดเป็นมารประเภทใด ?
ก. กิเลสมาร ข. ขันธมาร
ค. อภิสังขารมาร ง. เทวปุตตมาร
คำตอบ : ข
๓๗. มารที่ครอบงำบุคคลให้ประกอบทุจริตคิดมิชอบ
ตรงกับข้อใด ?
ก. กิเลสมาร ข. ขันธมาร
ค. อภิสังขารมาร ง. เทวปุตตมาร
คำตอบ : ก
๓๘. ความดีใจที่ได้รับเหรียญรางวัล จัดเป็นเวทนาใด ?
ก. สุขเวทนา ข.
อุเบกขาเวทนา
ค. โสมนัสเวทนา ง.
โทมนัสเวทนา
คำตอบ : ค
๓๙. เชื่อข่าวลือ ถือมงคล ตื่นข่าว
จัดว่าเป็นคนมีจริตอะไร ?
ก. โมหจริต ข. วิตักกจริต
ค. สัทธาจริต ง. พุทธิจริต
คำตอบ : ค
๔๐. คิดหนัก มักระแวง จิตฟุ้งซ่าน
จัดว่าเป็นคนมีจริตอะไร ?
ก. ราคจริต ข. โทสจริต
ค. โมหจริต ง. วิตักกจริต
คำตอบ : ง
๔๑. บุคคลเข้าใจซาบซึ้งพระธรรมเฉพาะตนเอง
ตรงกับข้อใด ?
ก. สนฺทิฏฺฐิโก ข.
อกาลิโก
ค. เอหิปสฺสิโก ง.
ปจฺจตฺตํ
คำตอบ : ง
๔๒. การรักษาศีลให้บริสุทธิ์ ตรงกับวิสุทธิข้อใด ?
ก. สีลวิสุทธิ ข. จิตตวิสุทธิ
ค. ทิฏฐิวิสุทธิ ง. กังขาวิตรณวิสุทธิ
คำตอบ : ก
๔๓. ความหมดจดแห่งจิต ตรงกับวิสุทธิข้อใด ?
ก. จิตตวิสุทธิ ข. ญาณทัสสนวิสุทธิ
ค. ทิฏฐิวิสุทธิ ง. กังขาวิตรณวิสุทธิ
คำตอบ : ก
๔๔. ข้อใด ไม่ใช่ความหมายของอวิชชา ?
ก. ไม่รู้จักเหตุแห่งทุกข์ ข. ไม่รู้จักกฎแห่งกรรม
ค. ไม่รู้หลักวิชาการ ง. ไม่รู้จักอดีตอนาคต
คำตอบ : ค
๔๕. คำว่า ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน
ตรงกับพุทธคุณข้อใด ?
ก. อรหํ ข.
พุทฺโธ
ค. โลกวิทู ง.
ภควา
คำตอบ : ข
๔๖. พระพุทธเจ้าตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง
เป็นพุทธคุณข้อใด ?
ก. สมฺมาสมฺพุทฺโธ ข.
วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน
ค. สุคโต โลกวิทู ง.
สตฺถา เทวมนุสฺสานํ
คำตอบ : ก
๔๗. สังฆคุณข้อว่า อญฺชลิกรณีโย
มีความหมายว่าอย่างไร ?
ก. ควรแก่ของคำนับ ข.
ควรแก่การต้อนรับ
ค. ควรแก่ของทำบุญ ง.
ควรแก่การกราบไหว้
คำตอบ : ง
๔๘. ข้อใดเป็นความหมายของคำว่า บารมี
ในพระพุทธศาสนา ?
ก. แผ่ขยายอิทธิพล ข. สั่งสมบริวาร
ค. มีอำนาจวาสนา ง. มีคุณธรรมยวดยิ่ง
คำตอบ : ง
๔๙. ผู้บริจาคดวงตาให้บุคคลอื่น จัดเป็นบารมีระดับใด
?
ก. ทานบารมี ข. ทานอุปบารมี
ค. ทานปรมัตถบารมี ง. เมตตาบารมี
คำตอบ : ข
๕๐. ผู้ประสบอุบัติเหตุตายก่อนวัยอันควร
เพราะกรรมใดให้ผล ?
ก. ครุกรรม ข. อุปฆาตกกรรม
ค. อุปปีกกรรม ง. อาสันนกรรม
คำตอบ : ข
*** ***
***
เฉลยวิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นโท
สอบในสนามหลวง
วันอังคาร ที่ ๒๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๑
๑. |
ค |
๑๑. |
ก |
๒๑. |
ค |
๓๑. |
ข |
๔๑. |
ง |
๒. |
ค |
๑๒. |
ข |
๒๒. |
ง |
๓๒. |
ง |
๔๒. |
ก |
๓. |
ค |
๑๓. |
ค |
๒๓. |
ข |
๓๓. |
ค |
๔๓. |
ก |
๔. |
ข |
๑๔. |
ก |
๒๔. |
ก |
๓๔. |
ข |
๔๔. |
ค |
๕. |
ง |
๑๕. |
ข |
๒๕. |
ข |
๓๕. |
ข |
๔๕. |
ข |
๖. |
ค |
๑๖. |
ค |
๒๖. |
ค |
๓๖. |
ข |
๔๖. |
ก |
๗. |
ง |
๑๗. |
ข |
๒๗. |
ง |
๓๗. |
ก |
๔๗. |
ง |
๘. |
ง |
๑๘. |
ก |
๒๘. |
ค |
๓๘. |
ค |
๔๘. |
ง |
๙. |
ก |
๑๙. |
ข |
๒๙. |
ข |
๓๙. |
ค |
๔๙. |
ข |
๑๐. |
ก |
๒๐. |
ค |
๓๐. |
ก |
๔๐. |
ง |
๕๐. |
ข |
ปัญหาและเฉลยวิชาอนุพุทธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นโท
สอบในสนามหลวง
วันอังคาร ที่ ๒๕ พฤศจิกายน
พ.ศ. ๒๕๕๑
เวลา
๑๔.๐๐ น.
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว
แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ
ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
คำตอบ : ค
คำตอบ : ข
คำตอบ : ก
คำตอบ : ค
คำตอบ : ข
คำตอบ : ค
คำตอบ : ค
คำตอบ : ข
คำตอบ : ข
คำตอบ : ง
คำตอบ : ค
คำตอบ : ข
คำตอบ : ค
คำตอบ : ข
คำตอบ : ก
คำตอบ : ข
คำตอบ : ก
ธรรมเนิ่นช้า ตรัสแก่ใคร ?
คำตอบ : ข
คำตอบ : ค
คำตอบ : ค
คำตอบ : ข
คำตอบ : ง
คำตอบ : ก
คำตอบ : ข
บวชอยู่ได้อย่างไร ?
คำตอบ : ก
คำตอบ : ค
คำตอบ : ก
คำตอบ : ค
คำตอบ : ง
คำตอบ : ค
คำตอบ : ง
คำตอบ : ข
คำตอบ : ง
คำตอบ : ก
คำตอบ : ค
คำตอบ : ง
คำตอบ : ก
คำตอบ : ค
คำตอบ : ค
คำตอบ : ก
คำตอบ : ข
คำตอบ : ค
คำตอบ : ง
คำตอบ : ค
คำตอบ : ง
คำตอบ : ง
คำตอบ : ข
คำตอบ : ค
คำตอบ : ง
คำตอบ : ก
*** ***
***
เฉลยวิชาอนุพุทธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นโท
สอบในสนามหลวง
วันอังคาร ที่ ๒๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๑
๑. |
ค |
๑๑. |
ค |
๒๑. |
ข |
๓๑. |
ง |
๔๑. |
ข |
๒. |
ข |
๑๒. |
ข |
๒๒. |
ง |
๓๒. |
ข |
๔๒. |
ค |
๓. |
ก |
๑๓. |
ค |
๒๓. |
ก |
๓๓. |
ง |
๔๓. |
ง |
๔. |
ค |
๑๔. |
ข |
๒๔. |
ข |
๓๔. |
ก |
๔๔. |
ค |
๕. |
ข |
๑๕. |
ก |
๒๕. |
ก |
๓๕. |
ค |
๔๕. |
ง |
๖. |
ค |
๑๖. |
ข |
๒๖. |
ค |
๓๖. |
ง |
๔๖. |
ง |
๗. |
ค |
๑๗. |
ก |
๒๗. |
ก |
๓๗. |
ก |
๔๗. |
ข |
๘. |
ข |
๑๘. |
ข |
๒๘. |
ค |
๓๘. |
ค |
๔๘. |
ค |
๙. |
ข |
๑๙. |
ค |
๒๙. |
ง |
๓๙. |
ค |
๔๙. |
ง |
๑๐. |
ง |
๒๐. |
ค |
๓๐. |
ค |
๔๐. |
ก |
๕๐. |
ก |
ปัญหาและเฉลยวิชาอุโบสถศีล (วินัย)
ธรรมศึกษาชั้นโท
สอบในสนามหลวง
วันอังคาร ที่ ๒๕ พฤศจิกายน
พ.ศ. ๒๕๕๑
เวลา
๑๕.๐๐ น.
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว
แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ
ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑. กุศลส่วนพิเศษที่คฤหัสถ์ควรบำเพ็ญให้ยิ่งกว่าศีล
๕ คืออะไร ?
ก. ถวายสังฆทาน ข.
ฟังเทศน์
ค. ถืออุโบสถ ง. นั่งสมาธิ
คำตอบ : ค
๒. การรักษาศีล จัดเข้าในศาสนพิธีประเภทใด ?
คำตอบ : ค
๓. ข้อใดเป็นความเชื่อผิดๆ เกี่ยวกับการักษาศีล ?
ก. ได้พักการงาน ข. ได้ทำบุญกุศล
ค. ได้ชำระจิตใจ ง. ได้ชำระบาป
คำตอบ : ง
๔. เข้าบ้านต้องผ่านประตู
แรกเข้าสู่พระพุทธศาสนาต้องเข้าถึงอะไร ?
ก. พิธีกรรม ข. พระรัตนตรัย
ค. ประเพณี ง. การอุปสมบท
คำตอบ : ข
๕. เพราะเหตุใด พระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์
จึงได้ชื่อว่าสรณะ ?
ก. เป็นที่พึ่งแก่ผู้นับถือ ข. ถือเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์
ค. เป็นที่บวงสรวงบูชา ง. เป็นที่บนบานขอพร
คำตอบ : ก
๖. โลกไม่มีพระอาทิตย์ก็มืดมน
คนไม่มีพระรัตนตรัยจะเป็นอย่างไร
?
ก. ขาดที่พึ่งทางกาย ข. ขาดที่พึ่งทางใจ
ค. ขาดหลักบริหาร ง. ขาดบริวารดูแล
คำตอบ : ข
๗. พระธรรม ย่อมรักษาผู้ปฏิบัติอย่างไร ?
ก. ให้มีชื่อเสียง ข. ให้คนยกย่อง
ค. ให้คนนับถือ ง. ไม่ให้ตกที่ชั่ว
คำตอบ : ง
๘. ใครประกาศคำสอนของพระพุทธเจ้า
ให้คนรู้จักบาปบุญคุณโทษ ?
ก. พระสงฆ์ ข. อาชีวก
ค. ปริพาชก ง. นิครนถ์
คำตอบ : ก
๙. สรณคมน์
มีความหมายตรงกับข้อใด ?
ค. การถวายข้าวพระเป็นประจำ ง. การบูชาด้วยดอกไม้ธูปเทียน
คำตอบ : ข
๑๐. อะไรเป็นสาเหตุแห่งการขาดสรณคมน์ ?
ค. เจ็บ ง. ตาย
คำตอบ : ง
๑๑. ข้อใด
เป็นความเศร้าหมองแห่งสรณคมน์ เพราะความไม่เอื้อเฟื้อ ?
ก. ทำร้ายพระศาสดา ข. ห้ามไหว้พระพุทธรูป
ค. นับถือศาสดาอื่น ง. ความตายมาปรากฏ
คำตอบ : ข
๑๒. ข้อใด เป็นความเศร้าหมองแห่งสรณคมน์
เพราะความสงสัย ?
ก. สวรรค์มีจริงหรือ ข. น้ำท่วมโลกจริงหรือ
ค. โลกร้อนจริงหรือ ง. มีคลื่นยักษ์จริงหรือ
คำตอบ : ก
๑๓. ความมีศรัทธามั่งคงในพระรัตนตรัย
ควรถือใครเป็นแบบอย่าง ?
คำตอบ : ค
๑๔. การถืออุโบสถนอกพุทธกาล เน้นวิธีรักษาในเรื่องใด ?
ก. อดอาหาร ข. ถือสรณคมน์
ค. ถือศีล ๘ ง. รักษาตามกาล
คำตอบ : ก
๑๕. ข้อใด ไม่มีความเกี่ยวข้องกับอุโบสถนอกพุทธกาล ?
ก. อดอาหาร ข. บำเพ็ญตบะ
ค. สรณคมน์ ง. ถือตามกาล
คำตอบ : ค
๑๖. ข้อใด ไม่ใช่อุโบสถที่จัดตามวันรักษา ?
ก. ปกติอุโบสถ ข. ปฏิชาครอุโบสถ
คำตอบ : ค
๑๗. อุโบสถที่ผู้สมาทานตั้งใจรักษา
โดยไม่เห็นแก่นอนมากนัก
ตรงกับอุโบสถประเภทใด ?
ก. โคปาลกอุโบสถ ข. ปฏิชาครอุโบสถ
ค. นัคคัณฐอุโบสถ ง. ปาฏิหาริยอุโบสถ
คำตอบ : ข
๑๘. การถืออุโบสถอย่างวิธีของพวกนิครนถ์
ตรงกับข้อใด ?
คำตอบ : ง
๑๙. การถืออุโบสถ
ให้เวลาล่วงไปด้วยเรื่องบุญกุศลเท่านั้น
มีอานิสงส์มากกว่าอุโบสถประเภทอื่น
ตรงกับข้อใด ?
ค. นิคคัณฐอุโบสถ ง. ปกติอุโบสถ
คำตอบ : ข
๒๐. คนรับจ้างเลี้ยงโค
เป็นคำเปรียบเทียบอุโบสถประเภทใด
?
ค. โคปาลกอุโบสถ ง. อริยอุโบสถ
คำตอบ : ค
๒๑. ปกติอุโบสถ กำหนดให้รักษาเดือนหนึ่งกี่วัน ?
ก. ๑ วัน ข. ๓ วัน
ค. ๔ วัน ง. ๓๐ วัน
คำตอบ : ค
๒๒. หากรักษาปฏิชาครอุโบสถในวัน ๘ ค่ำ
วันรับวันส่งจะเป็นกี่ค่ำ ?
ก. ๖ ค่ำ ๗ ค่ำ ข. ๗ ค่ำ ๘ ค่ำ
ค. ๘ ค่ำ ๙ ค่ำ ง. ๗ ค่ำ ๙ ค่ำ
คำตอบ : ง
๒๓. ปาฏิหาริยอุโบสถ
กำหนดให้รักษาต่อเนื่องกันไปนานเท่าไร ?
ก. ๑ วัน ข.
๓ วัน
ค. ๓ เดือน ง.
๔ เดือน
คำตอบ : ง
๒๔. การถือศีลด้วยวิธีใด เรียกว่ารักษาอุโบสถ ?
ก. กินอาหารมังสวิรัติ ข. งดอาหารเวลาวิกาล
ค. ไม่กินเนื้อสัตว์ใหญ่ ง. ไถ่ชีวิตโคทุกวันพระ
คำตอบ : ข
๒๕. การถือศีลในวันใด ไม่เรียกว่ารักษาอุโบสถ ?
ก. วันธรรมดา ข. วัน ๘ ค่ำ
ค. วัน ๑๔ ค่ำ ง.
วัน ๑๕ ค่ำ
คำตอบ : ก
๒๖. บุญกุศลที่ได้จากการถืออุโบสถนั้น
เกิดขึ้นด้วยสาเหตุใด ?
ก. สมาทานศีล ข.
ตั้งใจสวดมนต์
ค. งดเว้นข้อห้าม ง. ถือจนครบเวลา
คำตอบ : ค
๒๗. วิธีสมาทานอุโบสถทุกวันนี้ นิยมสมาทานด้วยวิธีใด ?
ก. เปล่งวาจา ข. ถือเพศ
ค. อธิษฐาน ง. ถือสัตย์
คำตอบ : ก
๒๘. อุโบสถที่สมาทานแล้ว ได้ชื่อว่ามีศีลบริบูรณ์
เพราะสาเหตุใด ?
ก. ไม่ละเว้น ข. ไม่ละเมิด
ค. ไม่ครบองค์ ง. ไม่ครบวัน
คำตอบ : ข
๒๙. พระสงฆ์ให้ศีล ๘ แต่รับเพียง
๕ ข้อ เรียกว่าอุโบสถอะไร ?
ก. ปกติอุโบสถ ข. โคปาลกอุโบสถ
ค. อริยอุโบสถ ง. ไม่เรียกว่าอุโบสถ
คำตอบ : ง
๓๐. การถืออุโบสถศีลในสถานที่ไม่มีพระสงฆ์
จะสมาทานที่ไหน ?
ก. บ้าน ข. โรงเรียน
ค. ป่าช้า ง. ได้ทุกที่
คำตอบ : ง
๓๑. อุโบสถอันประกอบด้วยองค์ ๘
จัดเป็นบัญญัติประเภทใด ?
ก. พุทธบัญญัติ ข. ธาตุบัญญัติ
ค. สาวกบัญญัติ ง. วินัยบัญญัติ
คำตอบ : ก
๓๒. วันปัณณรสี ในคำประกาศอุโบสถ หมายถึงวันกี่ค่ำ
?
ก. วัน ๗ ค่ำ ข. วัน ๘ ค่ำ
ค. วัน ๑๘ ค่ำ ง. วัน ๑๕ ค่ำ
คำตอบ : ง
๓๓. คำว่า มยํ ภนฺเต ติสรเณน สห อฏฺฐงฺคสมนฺนาคตํ อุโบสถํ ยาจาม
เป็นคำกล่าวอะไร ?
ก. อาราธนาศีล ข. อาราธนาธรรม
ค. บูชาข้าวพระ ง. ถวายสังฆทาน
คำตอบ : ก
๓๔. ข้อใด
ไม่เกี่ยวข้องกับระเบียบพิธีถืออุโบสถ ?
ก. ประกาศองค์อุโบสถ ข. อาราธนาศีล
ค. อาราธนาพระปริตร ง. สมาทานศีล
คำตอบ : ค
๓๕. อุโบสถของพวกนิครนถ์นักบวชนอกศาสนา
มีข้อห้ามอย่างไร ?
ก. ห้ามทุกเรื่อง ข.
ห้ามบางเรื่อง
ค. ห้ามอดข้าว ง.
ไม่มีข้อห้าม
คำตอบ : ข
๓๖. คำว่า อพรหมจรรย์ ในอุโบสถศีลข้อที่ ๓
หมายถึงอะไร ?
ก. การล่วงประเวณี ข.
การร้องเพลง
ค. การดื่มสุราเมรัย ง.
การอดอาหาร
คำตอบ : ก
๓๗. ข้าพเจ้าสมาทานสิกขาบทคือเว้นจากล่อลวงผู้อื่น
คือศีลข้อใด ?
ก. ข้อ ๑ ข. ข้อ ๓
ค. ข้อ ๔ ง. ข้อ ๓
คำตอบ : ค
๓๘. งดบริโภคอาหารในเวลาวิกาล คือศีลข้อใด ?
ก. ข้อ ๒ ข. ข้อ ๓
ค. ข้อ ๓ ง. ข้อ ๖
คำตอบ : ง
๓๙. ประโยชน์การสมาทานอุโบสถศีล ข้อ ๗
เพื่อตัดความกังวลใด ?
ก. การกินอาหาร ข. การแต่งตัว
ค. การนอนมาก ง. การเมาสุรา
คำตอบ : ข
๔๐. ข้อใด
ไม่นับเข้าในข้อห้ามของอุโบสถศีลข้อที่ ๗ ?
ก. ฟ้อนรำ ข. ขับร้อง
ค. จับเงิน ง. แต่งตัว
คำตอบ : ค
๔๑. การถืออุโบสถศีลข้อ ๘
บัญญัติไว้เพื่อจุดประสงค์ใด
?
ก. ไม่เห็นแก่กิน ข.
ไม่เห็นแก่นอน
คำตอบ : ข
๔๒. พระพุทธเจ้า
ทรงอนุญาตให้ผู้ถืออุโบสถศีลนั่งนอนในที่เช่นไร ?
ก. สูงใหญ่ ข. พอเหมาะ
ค. หลากสี ง. ประหลาด
คำตอบ : ข
๔๓. เรื่องภายนอกที่นำมาพูดในขณะถืออุโบสถศีล
เรียกว่าอะไร ?
ก. อนุปุพพีกถา ข. อริยมรรคกถา
ค. ติรัจฉานกถา ง. อนุโมทนากถา
คำตอบ : ค
๔๔. ในขณะถืออุโบสถศีล
ผู้สมาทานควรปฏิบัติตนอย่างไร
?
ก. นึกถึงองค์แห่งศีล ข. ทรมานตนให้ลำบาก
ค. คลุกคลีอยู่ในกาม ง. พูดเรื่องทำมาหากิน
คำตอบ : ก
๔๕. ข้อใด ไม่ใช่จุดประสงค์ของการถือศีลอุโบสถ ?
ก. เพื่อผลประโยชน์ ข.
เพื่อสั่งสมบุญ
ค. เพื่อฝึกในตัวเอง ง.
เพื่อสงบจิตใจ
คำตอบ : ก
๔๖. ความตั้งใจในการถืออุโบสถศีล
มีอะไรเป็นเครื่องพิจารณา ?
ก. ตั้งใจมาแต่บ้าน ข. ตั้งใจมาทำบุญ
ค. ตั้งใจงดเว้นโทษ ง. ตั้งใจสวดมนต์
คำตอบ : ค
๔๗. การรักษาอุโบสถศีลเช่นไร ชื่อว่ารักษาครบตามกาลที่กำหนด ?
ก. เมื่อหิวข้าว ข. เมื่อเป็นไข้
ค. เมื่อตายลง ง. เมื่อพ้นเวลา
คำตอบ : ง
๔๘. การถืออุโบสถศีลด้วยจิตผ่องใส หากตายในขณะนั้นจะมีคติเช่นไร ?
ก. เกิดในทุคติภูมิ ข. เกิดในสุคติภูมิ
ค. เกิดในนรกภูมิ ง. เกิดในอบายภูมิ
คำตอบ : ข
๔๙. การถืออุโบสถศีลจะได้รับผลมากหรือน้อย
ขึ้นอยู่กับอะไร ?
ก. การกระทำ ข. บุญบารมี
ค. โชควาสนา ง. ชะตากรรม
คำตอบ : ก
๕๐. อุโบสถศีลที่บุคคลรักษาดีแล้ว ย่อมได้รับผลสูงสุดคืออะไร ?
ก. ทรัพยสมบัติ ข. มนุษยสมบัติ
ค. สวรรคสมบัติ ง. นิพพานสมบัติ
คำตอบ : ง
*** ***
***
เฉลยวิชาอุโบสถศีล (วินัย) ธรรมศึกษาชั้นโท
สอบในสนามหลวง
วันอังคาร ที่ ๒๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๑
๑. |
ค |
๑๑. |
ข |
๒๑. |
ค |
๓๑. |
ก |
๔๑. |
ข |
๒. |
ค |
๑๒. |
ก |
๒๒. |
ง |
๓๒. |
ง |
๔๒. |
ข |
๓. |
ง |
๑๓. |
ค |
๒๓. |
ง |
๓๓. |
ก |
๔๓. |
ค |
๔. |
ข |
๑๔. |
ก |
๒๔. |
ข |
๓๔. |
ค |
๔๔. |
ก |
๕. |
ก |
๑๕. |
ค |
๒๕. |
ก |
๓๕. |
ข |
๔๕. |
ก |
๖. |
ข |
๑๖. |
ค |
๒๖. |
ค |
๓๖. |
ก |
๔๖. |
ค |
๗. |
ง |
๑๗. |
ข |
๒๗. |
ก |
๓๗. |
ค |
๔๗. |
ง |
๘. |
ก |
๑๘. |
ง |
๒๘. |
ข |
๓๘. |
ง |
๔๘. |
ข |
๙. |
ข |
๑๙. |
ข |
๒๙. |
ง |
๓๙. |
ข |
๔๙. |
ก |
๑๐. |
ง |
๒๐. |
ค |
๓๐. |
ง |
๔๐. |
ค |
๕๐. |
ง |
กระทู้ธรรม ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันอังคาร ที่ ๒๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๑
เวลา
๐๘.๓๐ น.
ทุนฺนิคฺคหสฺส ลหุโน ยตฺถ กามนิปาติโน
จิตฺตสฺส ทมโถ สาธุ จิตฺตํ
ทนฺตํ สุขาวหํ.
การฝึกจิตที่ข่มยาก
ที่เบา มักตกไปในอารมณ์ที่น่าใคร่ เป็นความดี,
(เพราะว่า) จิตที่ฝึกแล้ว นำสุขมาให้.
(พุทฺธ) ขุ.ธ. ๒๕/๑๙
-------------------- |
|
แต่งอธิบายเป็นทำนองเทศนาโวหาร
อ้างสุภาษิตอื่นมาประกอบไม่น้อยกว่า ๓ ข้อ และบอกชื่อคัมภีร์ที่มาแห่งสุภาษิตนั้นด้วย
ห้ามอ้างสุภาษิตซ้ำข้อกันแต่จะซ้ำคัมภีร์ได้ ไม่ห้าม สุภาษิตที่อ้างมานั้น ต้องเรียงเชื่อมความให้ติดต่อสมเรื่องกับกระทู้ตั้ง. |
ชั้นนี้
กำหนดให้เขียนลงในใบตอบ ตั้งแต่ ๔ หน้า (เว้นบรรทัด) ขึ้นไป
|
-------------------- |
ให้เวลา ๓ ชั่วโมง
|
ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันอังคาร ที่ ๒๕ พฤศจิกายน
พ.ศ. ๒๕๕๑
เวลา
๑๓.๐๐ น.
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว
แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ
ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑. พระพุทธเจ้าตรัสเรียกให้มาดูโลก
เพื่อประโยชน์อะไร ?
ก. เพื่อคลายเครียด ข. เพื่อคลายทุกข์
ค. เพื่อเพลิดเพลิน ง. เพื่อให้รู้ความจริง
คำตอบ : ง
๒. คำว่า พวกคนเขลา
หมายถึงบุคคลข้อใด ?
ก. คนอันธพาล ข. คนสมองไม่ดี
ค. คนขาดสติ ง. คนผู้ไร้พิจารณ์
คำตอบ : ง
๓. ผู้รู้หาข้องอยู่ไม่ คำว่าผู้รู้ ตรงกับข้อใด ?
ก. ผู้รู้โลกตามเป็นจริง ข. ผู้รู้สังคมโลก
ค. ผู้รู้โลกธรรม ง. ผู้รู้คดีโลกคดีธรรม
คำตอบ : ก
๔. ทำอย่างไรจึงจะไม่หลงอยู่ในโลก ?
ก. หนีออกจากโลก ข. หนีออกไปบวช
ค. ไม่ยุ่งกับใคร ง. ไม่ติดในสิ่งล่อใจ
คำตอบ : ง
๕. ในเรื่องนิพพิทา อาการเช่นใดเรียกว่า สำรวมจิต ?
ก. มนสิการกัมมัฏฐาน ข. ทำใจให้สบาย
ค. ทำใจไม่รับรู้อารมณ์ ง. ทำใจไม่ให้ยึดติด
คำตอบ : ก
๖. เบื่อหน่ายอะไร จัดเป็นนิพพิทา ?
ก. เบื่อหน่ายสังขาร ข. เบื่อหน่ายสังคม
ค. เบื่อหน่ายการงาน ง. เบื่อหน่ายการเรียน
คำตอบ : ก
๗. บ่วงแห่งมาร หมายถึงอะไร ?
ก. อายตนะภายใน ข. อายตนะภายนอก
ค. โลภ โกรธ หลง ง. สิ่งที่เกิดภายในใจ
คำตอบ : ข
๘. ความไม่ดีในข้อใด จัดเป็นมาร ?
ก. ความเห็นแก่ตัว ข. ความเกียจคร้าน
ค. ความทะยานอยาก ง. ความโกรธทำลายล้าง
คำตอบ : ค
๙. กิเลสกามได้ชื่อว่าเป็นมาร เพราะเหตุใด ?
ก. เป็นเครื่องจูงใจ ข. ทำให้เศร้าหมอง
ค. ทำให้ใจหลงระเริง ง.
ล้างผลาญคุณความดี
คำตอบ : ง
๑๐. วัตถุกาม เรียกว่าอะไร ?
ก. ขันธมาร ข. บ่วงแห่งมาร
ค. มัจจุมาร ง. กิเลสมาร
คำตอบ : ข
๑๑. ปฏิบัติอย่างไร จึงจะตัดบ่วงแห่งมารได้เด็ดขาด ?
ก. สำรวมอินทรีย์ ข. มนสิการกัมมัฏฐาน
ค. เจริญวิปัสสนา ง. เข้าฌานสมาบัติ
คำตอบ : ค
๑๒. คำว่า สังขาร ในปฏิปทาแห่งนิพพิทา หมายถึงอะไร ?
ก. เบญจขันธ์ ข. อายตนะ
ค. อินทรีย์ ง. ธาตุ
คำตอบ : ก
๑๓. ความเกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไปแห่งสังขาร
เรียกว่าอะไร ?
ก. อนัตตลักษณะ ข. อนิจจลักษณะ
ค. ไตรลักษณะ ง. ทุกขลักษณะ
คำตอบ : ข
๑๔. เกิด แก่ เจ็บ ตาย จัดเป็นทุกข์ชนิดใด ?
ก. ทุกขเวทนา ข. สภาวทุกข์
ค. พยาธิทุกข์ ง. ทุกข์รวบยอด
คำตอบ : ข
๑๕. ข้อใดจัดเป็นวิปากทุกข์ ?
ก. กลัวไม่มีงานทำ ข. กลัวถูกยึดทรัพย์สิน
ค. ร้อนใจเพราะทุจริต ง. เสียใจเพราะพลาดตำแหน่ง
คำตอบ : ค
๑๖. ความหนาว ร้อน หิว กระหาย จัดเป็นทุกข์อะไร ?
ก. สภาวทุกข์ ข. วิปากทุกข์
ค. นิพัทธทุกข์ ง. พยาธิทุกข์
คำตอบ : ค
๑๗. ทุกข์เพราะหาเงินไม่พอใช้ จัดเป็นทุกข์อะไร ?
ก. สภาวทุกข์ ข. นิพัทธทุกข์
ค. วิปากทุกข์ ง. อาหารปริเยฏฐิทุกข์
คำตอบ : ง
๑๘. พูดโดยไม่คิด พ่นพิษใส่คนอื่น
จัดเป็นทุกข์อะไร ?
ก. ปกิณณกทุกข์ ข. สภาวทุกข์
ค. นิพัทธทุกข์ ง. วิวาทมูลกทุกข์
คำตอบ : ง
๑๙. อะไรปิดบังไว้ จึงไม่เห็นสังขารเป็นอนัตตา ?
ก. อิริยาบถ ข. สันตติ
ค. ฆนสัญญา ง. สุขเวทนา
คำตอบ : ก
๒๐. ข้อใดเป็นลักษณะของอนิจจตา ?
ก. ไม่มีเจ้าของ ข. ไม่อยู่ในอำนาจ
ค. ทนได้ยาก ง. เกิดขึ้นแล้วดับไป
คำตอบ : ง
๒๑. เมื่อรู้ว่า สังขารเป็นไปตามเหตุปัจจัย พึงปฏิบัติอย่างไร ?
ก. ยินดีทุกเมื่อ ข. ปล่อยว่างทุกเมื่อ
ค. มีสติทุกเมื่อ ง. มีสุขทุกเมื่อ
คำตอบ : ค
๒๒. อะไรปิดบังไว้ จึงไม่เห็นสังขารเป็นอนัตตา ?
ก. อนิจจสัญญา ข. ทุกขสัญญา
ค. สุขสัญญา ง. ฆนสัญญา
คำตอบ : ง
๒๓. นั่นมิใช่เรา นั่นมิใช่ของเรา
จัดเป็นอนัตตาข้อใด ?
ก. หาเจ้าของมิได้ ข. แย้งอนัตตา
ค. เป็นสภาพสูญ ง. ไม่อยู่ในอำนาจ
คำตอบ : ก
๒๔. เมื่อเบื่อหน่ายสังขาร ย่อมเกิดอะไรขึ้น ?
ก. ไม่หลง ข. ไม่ฟุ้งซ่าน
ค. สิ้นกิเลส ง. สิ้นกำหนัด
คำตอบ : ง
๒๕. ความติดพันห่วงใยในอารมณ์อันเป็นที่รัก
เรียกว่าอะไร ?
ก. ความเมา ข. ความอยาก
ค. ความอาลัย ง. ความหิวกระหาย
คำตอบ : ข
๒๖. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับวิราคะ ?
ก. ความเบื่อหน่าย ข. ความสุข
ค. ความสิ้นทุกข์ ง. ความดับ
คำตอบ : ข
๒๗. มทนิมฺมทโน ธรรมยังความเมาให้สร่าง นั้น
หมายถึงข้อใด ?
ก. สุรา ข. ยาบ้า
ค. กัญชา ง. ลาภยศ
คำตอบ : ง
๒๘. ปิปาสวินโย ความนำเสียซึ่งความระหาย
หมายถึงข้อใด ?
ก. กำจัดความหิว ข. กำจัดความทุกข์ร้อน
ค. กำจัดตัณหา ง. กำจัดความยากจน
คำตอบ : ค
๒๙. การเวียนเกิดด้วยอำนาจกิเลส กรรม วิบาก
เรียกว่าอะไร ?
ก. วัฏฏะ ข. อาลัย
ค. วิบาก ง. ตัณหา
คำตอบ : ก
๓๐. ความหลุดพ้นด้วยข่มไว้นั้น หมายถึงข่มอะไร ?
ก. ตัณหา ข. ราคะ
ค. นิวรณ์ ง. อนุสัย
คำตอบ : ค
๓๑. พิจารณาเห็นสังขารอย่างไร จัดเป็นอุทยัพพยญาณ ?
ก. เห็นว่าว่างเปล่า ข. เห็นว่าไม่เที่ยง
ค. เห็นว่าเป็นทุกข์ ง. เห็นว่าเป็นอนัตตา
คำตอบ : ข
๓๒. หนทางนำสู่ความดับทุกข์ประเสริฐที่สุด
คือข้อใด ?
ก. วิมุตติ ๕ ข.
อริยทรัพย์ ๗
ค. มรรค ๘ ง.
บุญกิริยาวัตถุ ๑๐
คำตอบ : ค
๓๓. กิจในอริยสัจ ๔ ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ?
ก. ทุกข์ควรละ ข. สมุทัยควรละ
ค. นิโรธควรทำให้แจ้ง ง. มรรคควรเจริญ
คำตอบ : ก
๓๔. ข้อใด ไม่ใช่สัมมาสังกัปปะ ?
ก. คิดเลิกกาม ข. คิดเลิกพยาบาท
ค. คิดฆ่าตัวตาย ง. คิดเลิกเบียดเบียน
คำตอบ : ค
๓๕. ข้อใด ไม่ใช่สัมมากัมมันตะ ?
ก. เว้นธุรกิจผิดกฎหมาย ข.
เว้นลักฉ้อคอร์รัปชั่น
ค. เว้นเจรจาหลอกลวง ง.
เว้นธุรกิจค้าประเวณี
คำตอบ : ค
๓๖. ข้อใด ไม่ใช่สัมมาวายามะ ?
ก. พยายามระงับปัญหา ข. พยายามป้องกันปัญหา
ค. พยายามหนีปัญหา ง. พยายามพัฒนาสิ่งดีงาม
คำตอบ : ค
๓๗. ข้อใด ไม่นับเข้าในสัมมาสติ ?
ก. เห็นว่าโลกเที่ยง ข. เห็นกายว่าไม่สวยงาม
ค. เห็นจิตว่ามีความเกิดดับ ง. เห็นเวทนาว่าปรวนแปร
คำตอบ : ก
๓๘. การเลี้ยงชีพโดยสุจริต งดเว้นทุจริต
จัดเป็นวิสุทธิข้อใด ?
ก. สีลวิสุทธิ ข. จิตตวิสุทธิ
ค. ทิฏฐิวิสุทธิ ง. กังขาวิตรณวิสุทธิ
คำตอบ : ก
๓๙. ข้อใด จัดเข้าในจิตตวิสุทธิ ?
ก. สัมมาวาจา ข. สัมมากัมมันตะ
ค. สัมมาอาชีวะ ง. สัมมาสติ
คำตอบ : ง
๔๐. คนมักง่วงนอน ควรเจริญกัมมัฏฐานอะไร ?
ก. กสิณ ข. มูลกัมมัฏฐาน
ค. พรหมวิหาร ง. พุทธานุสสติ
คำตอบ : ง
๔๑. ถ้ามีความคิดฟุ้งซ่านหรือคิดมาก
ควรใช้กัมมัฏฐานข้อใด ?
ก. กสิณ ข. อสุภะ
ค. เมตตา ง. พุทธานุสสติ
คำตอบ : ก
๔๒. คนลักษณะเช่นไร เรียกว่าสัทธาจริต ?
ก. เชื่อเหตุผล ข. เชื่อง่าย
ค. เชื่อตำรา ง. เชื่อมั่นตัวเอง
คำตอบ : ข
๔๓. คนลักษณะเช่นไร เรียกว่ามีโทสจริต ?
ก. หงุดหงิด ข. สงสัย
ค. เจ้าระเบียบ ง. ท้อแท้
คำตอบ : ก
๔๔. ข้อใด ไม่จัดเข้าในวิตกจริต ?
ก. คิดฟุ้งซ่าน ข. คิดกังวล
ค. โกรธง่าย ง. นอนไม่หลับ
คำตอบ : ค
๔๕. ข้อใด เป็นอานิสงส์ของการเจริญเมตตา ?
ก. ไม่มีเวรภัย ข. ไม่ประมาท
ค. ไม่มีอคติ ง. ไม่กลัว
คำตอบ : ก
๔๖. ข้อใด เป็นคำแผ่กรุณา ?
ก. ขอสัตว์จงเป็นสุขเถิด ข.
ขอสัตว์จงพ้นจากทุกข์เถิด
ค. ขอสัตว์อย่าจองเวรกัน ง. ขอสัตว์จงอย่าเบียดเบียน
คำตอบ : ข
๔๗. ข้อใด เป็นคำแผ่มุทิตา ?
ก. ขอสัตว์จงเป็นสุขเถิด ข. ขอสัตว์จงมีสุขยิ่งขึ้นไป
ค. ขอสัตว์มีทุกข์จงพ้นทุกข์ ง. ขอสัตว์จงอย่ามีเวรกัน
คำตอบ : ข
๔๘. ขณะกราบพระพุทธรูป ได้ชื่อว่าเจริญอนุสสติใด ?
ก. พระพุทธานุสสติ ข.
ธัมมานุสสติ
ค. สังฆานุสสติ ง.
สีลานุสสติ
คำตอบ : ก
๔๙. วิปัสสนาคืออะไร ?
ก. ความสงบ ข. ความรู้ในอารมณ์
ค. ความสุขใจ ง. ความไม่ฟุ้งซ่าน
คำตอบ : ข
๕๐. อะไรเป็นผลสูงสุดของวิปัสสนา ?
ก. เห็นสังขารตามเป็นจริง ข. เห็นสังขารเกิดดับ
ค. เห็นสังขารน่ากลัว ง. เห็นสังขารเป็นทุกข์
คำตอบ : ก
*** ***
***
เฉลยวิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันอังคาร ที่ ๒๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๑
๑. |
ง |
๑๑. |
ค |
๒๑. |
ค |
๓๑. |
ข |
๔๑. |
ก |
๒. |
ง |
๑๒. |
ก |
๒๒. |
ง |
๓๒. |
ค |
๔๒. |
ข |
๓. |
ก |
๑๓. |
ข |
๒๓. |
ก |
๓๓. |
ก |
๔๓. |
ก |
๔. |
ง |
๑๔. |
ข |
๒๔. |
ง |
๓๔. |
ค |
๔๔. |
ค |
๕. |
ก |
๑๕. |
ค |
๒๕. |
ค |
๓๕. |
ค |
๔๕. |
ก |
๖. |
ก |
๑๖. |
ค |
๒๖. |
ข |
๓๖. |
ค |
๔๖. |
ข |
๗. |
ข |
๑๗. |
ง |
๒๗. |
ง |
๓๗. |
ก |
๔๗. |
ข |
๘. |
ค |
๑๘. |
ง |
๒๘. |
ค |
๓๘. |
ก |
๔๘. |
ก |
๙. |
ง |
๑๙. |
ก |
๒๙. |
ก |
๓๙. |
ง |
๔๙. |
ข |
๑๐. |
ข |
๒๐. |
ง |
๓๐. |
ค |
๔๐. |
ง |
๕๐. |
ก |
ปัญหาและเฉลยวิชาพุทธานุพุทธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันอังคาร ที่ ๒๕ พฤศจิกายน
พ.ศ. ๒๕๕๑
เวลา
๑๔.๐๐ น.
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว
แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ
ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
คำตอบ : ง
คำตอบ : ค
คำตอบ : ข
คำตอบ : ง
คำตอบ : ง
คำตอบ : ก
คำตอบ : ค
คำตอบ : ข
คำตอบ : ง
คำตอบ : ข
คำตอบ : ข
คำตอบ : ง
คำตอบ : ข
คำตอบ : ค
คำตอบ : ก
คำตอบ : ข
คำตอบ : ง
คำตอบ : ง
คำตอบ : ค
คำตอบ : ง
คำตอบ : ง
คำตอบ : ก
คำตอบ : ก
คำตอบ : ข
คำตอบ : ก
คำตอบ : ข
คำตอบ : ค
คำตอบ : ข
คำตอบ : ก
คำตอบ : ง
คำตอบ : ก
คำตอบ : ค
คำตอบ : ก
คำตอบ : ง
คำตอบ : ข
คำตอบ : ค
คำตอบ : ก
คำตอบ : ข
คำตอบ : ค
คำตอบ : ข
คำตอบ : ง
คำตอบ : ข
คำตอบ : ค
คำตอบ : ง
คำตอบ : ก
คำตอบ : ง
คำตอบ : ข
คำตอบ : ข
คำตอบ : ค
*** ***
***
เฉลยวิชาพุทธานุพุทธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันอังคาร ที่ ๒๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๑
๑. |
ง |
๑๑. |
ข |
๒๑. |
ง |
๓๑. |
ง |
๔๑. |
ข |
๒. |
ค |
๑๒. |
ข |
๒๒. |
ง |
๓๒. |
ก |
๔๒. |
ง |
๓. |
ข |
๑๓. |
ง |
๒๓. |
ก |
๓๓. |
ค |
๔๓. |
ข |
๔. |
ง |
๑๔. |
ข |
๒๔. |
ก |
๓๔. |
ก |
๔๔. |
ค |
๕. |
ง |
๑๕. |
ค |
๒๕. |
ข |
๓๕. |
ง |
๔๕. |
ง |
๖. |
ก |
๑๖. |
ก |
๒๖. |
ก |
๓๖. |
ข |
๔๖. |
ก |
๗. |
ค |
๑๗. |
ข |
๒๗. |
ข |
๓๗. |
ค |
๔๗. |
ง |
๘. |
ข |
๑๘. |
ง |
๒๘. |
ค |
๓๘. |
ก |
๔๘. |
ข |
๙. |
ง |
๑๙. |
ง |
๒๙. |
ข |
๓๙. |
ข |
๔๙. |
ข |
๑๐. |
ง |
๒๐. |
ค |
๓๐. |
ก |
๔๐. |
ค |
๕๐. |
ค |
ปัญหาและเฉลยวิชากรรมบถ (วินัย)
ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันอังคาร ที่ ๒๕ พฤศจิกายน
พ.ศ. ๒๕๕๑
เวลา
๑๕.๐๐ น.
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว
แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ
ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑. ชีวิตสรรพสัตว์จะสุขหรือทุกข์
มีอะไรเป็นเครื่องกำหนด ?
ก. เทวดา ข. กรรม
ค. มาร ง. พรหม
คำตอบ : ข
๒. วิชากรรมบถ เน้นหลักคำสอนว่าด้วยเรื่องอะไร ?
ก. อำนาจแห่งวิบากกรรม ข. อำนาจแห่งสิ่งศักดิ์สิทธิ์
ค. อำนาจแห่งดาวเคราะห์ ง. อำนาจจิตอันประภัสสร
คำตอบ : ก
๓. กรรมบถจัดเป็นศีล
แต่ไม่เหมือนศีล ๕ เพราะไม่มีสิกขาบทใด ?
ค. ข้อ
๔ ง. ข้อ ๕
คำตอบ : ง
๔. กรรมบถนั้น ว่าโดยการกระทำมี ๓ อย่าง
ยกเว้นข้อใด ?
ก. กายกรรม ข. วจีกรรม
ค. มโนกรรม ง. เวรกรรม
คำตอบ : ง
๕. เชื้อโรคเข้าทางร่างกาย
ส่วนกิเลสจะเข้าสู่ตัวเราทางใด
?
ก. ทางกาย ข. ทางวาจา
ค. ทางใจ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ค
๖. อะไรเป็นมูลเหตุให้บุคคลกระทำกรรมชั่ว ?
ก. กุศลมูล ข. อกุศลมูล
ค. กุศลจิต ง. อกุศลจิต
คำตอบ : ข
๗. สิ่งที่ใจเข้าไปยึดเหนี่ยว เป็นเหตุให้กระทำกรรม
เรียกว่าอะไร ?
ก. เจตนา ข. เวทนา
ค. อารมณ์ ง. สัญญา
คำตอบ : ค
๘. ความรู้สึกในอารมณ์ว่าเป็นสุขทุกข์ เรียกว่าอะไร
?
ก. เจตนา ข. เวทนา
ค. อารมณ์ ง. สังขาร
คำตอบ : ข
๙. การกระทำที่ขาดเจตนา จัดเป็นกรรมอะไร ?
ก. กายกรรม ข. วจีกรรม
ค. มโนกรรม ง. ไม่เป็นกรรม
คำตอบ : ง
๑๐. อกุศลกรรมเป็นกิจไม่ควรทำ เพราะเหตุไร ?
คำตอบ : ค
คำตอบ : ก
๑๒. ผู้ประพฤติอกุศลกรรม
ย่อมเกิดในอบายภูมิ ตรงกับข้อใด ?
ก. มนุษย์ ข. เทวดา
ค. พรหม ง. เปรต
คำตอบ : ง
๑๓. โลภะ โดยตรงเป็นสมุฏฐานให้เกิดอะไร ?
ก. ฆ่าสัตว์ ข. ลักขโมย
ค. เห็นผิด ง. พยาบาท
คำตอบ : ข
๑๔. โทสะ โดยตรงเป็นสมุฏฐานให้เกิดอะไร ?
ก. ความโลภ ข. ความโกรธ
ค. ความหลง ง. ความกลัว
คำตอบ : ข
๑๕. โมหะ โดยตรงเป็นสมุฏฐานให้เกิดอะไร ?
ก. ความรุนแรง ข. ความละโมบ
ค. ความอาฆาต ง.
ความงมงาย
คำตอบ : ง
๑๖. คำว่า มือเปื้อนเลือด
ตรงกับอกุศลกรรมบถข้อใด ?
ก. ปาณาติบาต ข. อทินนาทาน
ค. กาเมสุมิจฉาจาร ง. สัมผัปปลาปะ
คำตอบ : ก
๑๗. คำว่า ปาณะ ในปาณาติบาต โดยปรมัตถ์
ได้แก่อะไร ?
ก. สรรพสัตว์ ข. มนุษย์
ค. ชีวิตินทรีย์ ง. สิ่งของ
คำตอบ : ค
๑๘. ในปาณาติบาต เมื่อรูปชีวิตินทรีย์ขาด
อะไรย่อมขาดตามด้วย ?
ก. อาสวกิเลส ข. ตัณหาอุปาทาน
ค. กายินทรีย์ ง. อรูปชีวิตินทรีย์
คำตอบ : ง
๑๙. ข้อใด เป็นผลกรรมของผู้กระทำปาณาติบาต ?
ก. อ่อนแอ ข. อดอยาก
ค. ยากจน ง. คนนินทา
คำตอบ : ก
๒๐. การตายลักษณะใด ไม่ถือว่าเป็นปาณาติบาต ?
ก. ถูกตีตาย ข. ประหารชีวิต
ค. ตายเอง ง. สั่งฆ่าให้ตาย
คำตอบ : ค
๒๑. คำว่า เถยยจิต ในอทินนาทาน หมายถึงอะไร ?
ก. จิตเป็นฆาตกร ข. จิตเป็นขโมย
ค. จิตเป็นหัวหน้า ง. จิตเป็นตัวนำ
คำตอบ : ข
๒๒. อทินนาทานที่เกิดขึ้นทางวจีทวาร ตรงกับข้อใด ?
ก. มีจิตคิดจะลัก ข. พยายามจะลัก
ค. ลักด้วยตนเอง ง. สั่งให้คนอื่นลัก
คำตอบ : ง
๒๓. ข้อใด เป็นผลกรรมของผู้กระทำอทินนาทาน ?
ก. ด้อยทรัพย์ ข. อับปัญญา
ค. หมดบารมี ง. มีโรคมาก
คำตอบ : ก
๒๔. กาเมสุมิจฉาจาร เกิดขึ้นทางทวารใด ?
ก. กายทวาร ข. วจีทวาร
ค. มโนทวาร ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ก
๒๕. กาเมสุมิจฉาจารอาศัยอะไร
จึงจะสำเร็จเป็นกรรมบถได้ ?
ก. สัมผัสทางกาย ข. สัมผัสทางใจ
ค. สัมผัสทางวัตถุ ง. สัมผัสทางใน
คำตอบ : ก
๒๖. องค์แห่งกาเมสุมิจฉาจาร ตรงกับข้อใด ?
ก. จิตคิดจะฆ่า ข. จิตคิดจะลัก
ค. จิตคิดจะเสพ ง. จิตคิดจะพูด
คำตอบ : ค
๒๗. เจตนาบิดเบือนข้อมูลข่าวสาร
ทำให้คนเข้าใจผิดในสถานการณ์
จัดเป็นวจีกรรมประเภทใด ?
ก. มุสาวาท ข. ปิสุณวาจา
ค. ผรุสวาจา ง. สัมผัปปลาปะ
คำตอบ : ก
๒๘. กล่าวโจมตีให้ร้ายป้ายสีฝ่ายตรงข้าม
เพื่อให้คนอื่นเข้าข้างตน
จัดเป็นวจีกรรมประเภทใด ?
ก. มุสาวาท ข. ปิสุณวาจา
ค. ผรุสวาจา ง. สัมผัปปลาปะ
คำตอบ : ข
๒๙. มุสาวาทที่เกิดขึ้นทางกายทวาร ตรงกับข้อใด ?
ก. แจ้งความเท็จ ข. เป็นพยานเท็จ
ค. เบิกความเท็จ ง. ปลอมเอกสาร
คำตอบ : ง
๓๐. องค์แห่งมุสาวาทข้อใด ทำให้สำเร็จเป็นกรรมบถ ?
ก. เรื่องไม่จริง ข. คิดจะพูด
ค. พูดออกไป ง. คนอื่นเชื่อ
คำตอบ : ง
๓๑. ปิสุณวาจา ตรงกับข้อใด ?
ก. ความแตกแยก ข. ทำให้แตกแยก
ค. พูดให้แตกแยก ง. คิดให้แตกแยก
คำตอบ : ค
๓๒. ปิสุณวาจา เกิดขึ้นทางทวารใด ?
ก. กายทวาร วจีทวาร ข. กายทวาร มโนทวาร
ค. วจีทวารอย่างเดียว ง. วจีทวาร มโนทวาร
คำตอบ : ก
๓๓. ผรุสวาจามีโทษมาก
เพราะคนที่ถูกด่าเป็นคนเช่นไร
?
ก. มีความรู้มาก ข. มีทรัพย์สินมาก
ค. มีอำนาจมาก ง. มีคุณธรรมมาก
คำตอบ : ง
๓๔. อกุศลธรรมทางใจ ตรงกับข้อใด ?
ก. เห็นผิด ข. ทำผิด
ค. พูดผิด ง. สั่งผิด
คำตอบ : ก
๓๕. ความโลภคิดอยากได้ของคนอื่น เรียกว่าอะไร ?
ก. อเนสนา ข. อทินนา
ค. อภิชฌา ง. อนภิชฌา
คำตอบ : ค
๓๖. บุคคลเช่นไร เรียกว่าลุแก่อำนาจอภิชฌา ?
ก. โลภมาก ข. พูดมาก
ค. นอนมาก ง. คิดมาก
คำตอบ : ก
๓๗. เมื่ออภิชฌาเกิดขึ้นบ่อย ๆ
เป็นเหตุให้คนกระทำอกุศลกรรมใด
?
ก. ฆ่าสัตว์ ข. ลักทรัพย์
ค. เสพกาม ง. พูดโกหก
คำตอบ : ข
๓๘. เมื่อพยาบาทเกิดขึ้นบ่อย ๆ
เป็นเหตุให้คนกระทำอกุศลกรรมใด
?
ก. ฆ่าสัตว์ ข. ลักทรัพย์
ค. เสพกาม ง. พูดโกหก
คำตอบ : ก
๓๙. ความเห็นผิดในข้อใด
ท่านกล่าวว่ามีโทษมากที่สุด
?
ก. นัตถิกทิฏฐะ ข. อกิริยทิฏฐิ
ค. อเหตุกทิฏฐิ ง. มากทุกข้อ
คำตอบ : ง
๔๐. อนภิชฌา มีลักษณะตรงกันข้ามกับข้อใด ?
ก. คิดเสียสละ ข. คิดประจบ
ค. คิดสงสาร ง. คิดละโมบ
คำตอบ : ง
๔๑. การผูกโกรธทำให้ใจเร่าร้อน
ควรแก้ด้วยกุศลกรรมบถข้อใด ?
ก. อนภิชฌา ข. อพยาบาท
ค. สัมมาทิฏฐิ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ข
๔๒. เห็นว่าพ่อแม่เป็นผู้มีพระคุณแก่ลูก
ตรงกับข้อใด ?
ก. สัมมาทิฏฐิ ข. นัตถิกทิฏฐิ
ค. อกิริยทิฏฐิ ง. อเหตุกทิฏฐิ
คำตอบ : ก
๔๓. ปัญญารู้เท่าทันความเป็นจริง
จัดเป็นกุศลกรรมบถข้อใด ?
ก. อภิชฌา ข. อพยาบาท
ค. สัมมาทิฏฐิ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ค
๔๔. บุคคลประพฤติอย่างไร
เรียกว่ามีเมตตากายกรรม ?
ก. งดทำร้ายกัน ข. งดให้ร้ายกัน
ค. งดป้ายสีกัน ง.
งดระแวงกัน
คำตอบ : ก
๔๕. คนมีพฤติกรรมเป็นนักเลงหัวไม้
เพราะไม่งดเว้นเรื่องใด ?
ก. อภิชฌา ข. ปาณาติบาต
ค. มุสาวาท ง. สัมผัปปลาปะ
คำตอบ : ข
๔๖. นอกจากพูดดีแล้ว ควรพูดคำที่เป็นประโยชน์ด้วย
ตรงกับข้อใด ?
ก. พูดเรื่องจริง ข. พูดให้รักกัน
ค. พูดหวานหู ง. พูดให้มีสาระ
คำตอบ : ง
๔๗. บุคคลประพฤติเช่นไร เรียกว่าตามรักษาวาจา ?
ก. เว้นกายทุจริต ข. เว้นวจีทุจริต
ค. เว้นมโนทุจริต ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ข
๔๘. การไม่ผูกพยาบาท
จัดเป็นธรรมจริยาและสมจริยาทางใด
?
ก. ทางกาย ข.
ทางวาจา
ค. ทางใจ ง.
ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ค
๔๙. ความรู้สึกอิ่มเอิบใจในขณะไหว้พระสวดมนต์
จัดเป็นเวทนาใด ?
ก. สุขเวทนา ข. ทุกขเวทนา
ค. โสมนัสสเวทนา ง. อุเบกขาเวทนา
คำตอบ : ค
๕๐. ผู้ประพฤติกุศลกรรมบถ
ในขณะใกล้ตายจะได้รับอานิสงส์ใด
?
ก. ไม่ตำหนิตัวเอง ข. ไม่หลงลืมสติ
ค. มีคนสรรเสริญ ง.
เข้าถึงสุคติภูมิ
คำตอบ : ข
เฉลยวิชากรรมบถ (วินัย) ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันอังคาร ที่ ๒๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๑
๑. |
ข |
๑๑. |
ก |
๒๑. |
ข |
๓๑. |
ค |
๔๑. |
ข |
๒. |
ก |
๑๒. |
ง |
๒๒. |
ง |
๓๒. |
ก |
๔๒. |
ก |
๓. |
ง |
๑๓. |
ข |
๒๓. |
ก |
๓๓. |
ง |
๔๓. |
ค |
๔. |
ง |
๑๔. |
ข |
๒๔. |
ก |
๓๔. |
ก |
๔๔. |
ก |
๕. |
ค |
๑๕. |
ง |
๒๕. |
ก |
๓๕. |
ค |
๔๕. |
ข |
๖. |
ข |
๑๖. |
ก |
๒๖. |
ค |
๓๖. |
ก |
๔๖. |
ง |
๗. |
ค |
๑๗. |
ค |
๒๗. |
ก |
๓๗. |
ข |
๔๗. |
ข |
๘. |
ข |
๑๘. |
ง |
๒๘. |
ข |
๓๘. |
ก |
๔๘. |
ค |
๙. |
ง |
๑๙. |
ก |
๒๙. |
ง |
๓๙. |
ง |
๔๙. |
ค |
๑๐. |
ค |
๒๐. |
ค |
๓๐. |
ง |
๔๐. |
ง |
๕๐. |
ข |