กระทู้ธรรม ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันพฤหัสบดี ที่ ๒๙ พฤศจิกายน
พ.ศ. ๒๕๕๐
เวลา
๐๘.๓๐ น.
ททโต ปุญฺญํ
ปวฑฺฒติ.
เมื่อให้ บุญก็เพิ่มขึ้น.
-------------------- |
|
แต่งอธิบายให้สมเหตุสมผล
อ้างสุภาษิตอื่นมาประกอบด้วย ๑ ข้อ และบอกชื่อคัมภีร์ที่มาแห่งสุภาษิตนั้นด้วย สุภาษิตที่อ้างมานั้น
ต้องเรียงเชื่อมความให้ติดต่อสมเรื่องกับกระทู้ตั้ง. |
ชั้นนี้
กำหนดให้เขียนลงในใบตอบ ตั้งแต่ ๒ หน้า (เว้นบรรทัด) ขึ้นไป
|
-------------------- |
ให้เวลา ๓ ชั่วโมง
|
ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันพฤหัสบดี ที่ ๒๙ พฤศจิกายน
พ.ศ. ๒๕๕๐
เวลา
๑๓.๐๐ น.
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว
แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ
ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑. ผู้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ เพราะมีธรรมอะไร ?
ก. ธรรมมีอุปการะมาก ข. ธรรมอันทำให้งาม
ค. ธรรมเป็นโลกบาล ง.
ธรรมเป็นเครื่องเจริญ
คำตอบ : ก
๒. การรณรงค์เรื่องเมาไม่ขับ ส่งเสริมให้มีธรรมข้อใด ?
ก. สติ ข. สัมปชัญญะ
ค. ขันติ ง. โสรัจจะ
คำตอบ : ก
๓. ถ้าสติเปรียบเหมือนดวงไฟ
สัมปชัญญะจะเปรียบเหมือนอะไร ?
ก. ควันไฟ ข. แสงไฟ
ค. คนจุดไฟ ง. เชื้อไฟ
คำตอบ : ข
๔. คนขาดศีลธรรม เพราะไม่มีธรรมใดเป็นพื้นฐาน ?
ก. สติ สัมปชัญญะ ข. ขันติ โสรัจจะ
ค. หิริ โอตตัปปะ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ค
๕. คนมีโอตตัปปะมีลักษณะเช่นไร ?
ก. กลัวถูกลงโทษ ข. กลัวเสียชื่อเสียง
ค. กลัวตกนรก ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๖. ผู้มุ่งให้กาย วาจา ใจงดงาม ควรประพฤติธรรมอะไร ?
ก. สติ สัมปชัญญะ ข. ขันติ โสรัจจะ
ค. หิริ โอตตัปปะ ง. กตัญญู กตเวที
คำตอบ : ข
๗. ความงามอะไร ไม่ขึ้นอยู่กับกาลเวลา ?
ก. งามเสื้อผ้าอาภรณ์ ข. งามรูปร่างหน้าตา
ค. งามกิริยามารยาท ง. งามคุณธรรม
คำตอบ : ง
๘. เป็นเรืออย่าทิ้งท่า เป็นเสืออย่าทิ้งป่า สอนให้มีธรรมอะไร ?
ก. สติ สัมปชัญญะ ข. กตัญญู กตเวที
ค. หิริ โอตตัปปะ ง. ขันติ โสรัจจะ
คำตอบ : ข
๙. บุพพการี ชื่อว่าหาได้ยาก เพราะถูกอะไรครอบงำ ?
ก. ความไม่รู้ ข. ความตระหนี่
ค. ความโกรธ ง. ตัณหา
คำตอบ : ข
๑๐. ชาวพุทธควรยึดถืออะไรเป็นที่พึ่งที่ระลึก ?
ก. ไตรปิฎก ข. ไตรลักษณ์
ค. ไตรรัตน์ ง. ไตรสิกขา
คำตอบ : ค
๑๑. ที่เรียกว่าพระพุทธศาสนานั้น หมายถึงอะไร ?
ก. พระรัตนตรัย ข. พระธรรมวินัย
ค. ไตรสิกขา ง. พระปาติโมกข์
คำตอบ : ข
๑๒. พระธรรม คืออะไร ?
ก. ระเบียบข้อบังคับ ข. ธรรมชาติ
ค. คำสั่งสอน ง. คำตักเตือน
คำตอบ : ค
๑๓. คำสอนที่เป็นหลักการในพระพุทธศาสนา ตรงกับข้อใด ?
ก. โอวาท ๓ ข. สิกขา ๓
ค. สุจริต ๓ ง. ปิฎก ๓
คำตอบ : ก
๑๔. การเว้นจากทุจริตทั้งปวง เป็นคำสอนในลักษณะใด ?
ก. ทาน ข. ศีล
ค. ภาวนา ง. ปัญญา
คำตอบ : ข
๑๕. คำพูดที่ทำให้ผู้ฟังเจ็บช้ำใจหรือบันดาลโทสะ ตรงกับข้อใด ?
ก. คำเท็จ ข. คำหยาบ
ค. คำส่อเสียด ง. คำเพ้อเจ้อ
คำตอบ : ข
๑๖. วจีสุจริตข้อใด ส่งเสริมให้เกิดความสมานฉันท์ ?
ก. ไม่พูดเท็จ ข. ไม่พูดคำหยาบ
ค. ไม่พูดส่อเสียด ง. ไม่พูดเพ้อเจ้อ
คำตอบ : ค
๑๗. เห็นอย่างไร ชื่อว่าเห็นไม่ผิดจากคลองธรรม ?
ก. ดีชั่วอยู่ที่ตัวทำ ข. บุญบาปไม่มี
ค. พ่อแม่ไม่มีคุณ ง. ดีเองชั่วเอง
คำตอบ : ก
๑๘. คนขายยาบ้า เพราะมีอะไรเป็นมูล ?
ก. โลภะ ข. โทสะ
ค. โมหะ ง. ราคะ
คำตอบ : ก
๑๙. ข้อใด ไม่ใช่ลักษณะของโทสะ ?
ก. กลุ้มใจ เสียใจ ข. รำคาญ หงุดหงิด
ค. โกรธ เกลียด ง. อยากได้ งมงาย
คำตอบ : ง
๒๐. มีโทษมากและคลายช้า คือข้อใด ?
ก. โลภะ ข. โทสะ
ค. โมหะ ง. ราคะ
คำตอบ : ค
๒๑. อโลภะ เป็นมูลของอะไร ?
ก. ทาน ข. ศีล
ค. ภาวนา ง. เมตตา
คำตอบ : ก
๒๒. คนเช่นไร ชื่อว่าสัตบุรุษ ?
ก. รู้จักทำมาหากิน ข. ขยันไม่เกียจคร้าน
ค. มีน้ำใจแบ่งปัน ง. ทำดี พูดดี คิดดี
คำตอบ : ง
๒๓. เสียสละ ถือบวช ดูแลบิดามารดา เป็นธรรมหมวดใด ?
ก. อปัณณกปฏิปทา ข. สัปปุริสบัญญัติ
ค. บุญกิริยาวัตถุ ง.
สามัญลักษณะ
คำตอบ : ข
๒๔. ความสุขกายสุขใจ เกิดจากการบำเพ็ญบุญกิริยาวัตถุข้อใด ?
ก. ให้ทาน ข. รักษาศีล
ค. เจริญภาวนา ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๒๕. ข้อใด เป็นเหตุให้เกิดสุขทั้งในโลกนี้และโลกหน้า ?
ก. สั่งสมความสุข ข. สั่งสมบุญ
ค. สั่งสมความรู้ ง. สั่งสมทรัพย์
คำตอบ : ข
๒๖. ความเจริญและความเสื่อมของบุคคล ขึ้นอยู่กับอะไร ?
ก. การศึกษา ข. การปฏิบัติ
ค. การมีบริวาร ง. การมีทรัพย์
คำตอบ : ข
๒๗. คนเช่นไร ไม่สามารถจะทรงความเที่ยงธรรมไว้ได้ ?
ก. มีเมตตากรุณา ข. กล้าได้กล้าเสีย
ค. มีใจเด็ดเดี่ยว ง. มีความลำเอียง
คำตอบ : ง
๒๘. ให้รางวัลแก่คนไม่ควรให้เพราะเสน่หา จัดเป็นอคติข้อใด
?
ก. ฉันทาคติ ข. โทสาคติ
ค. โมหาคติ ง. ภยาคติ
คำตอบ : ก
๒๙. ผิดพลาดไปแล้ว พยายามกลับตัวเป็นคนดี ตรงกับข้อใด ?
ก. สังวรปธาน ข. ปหานปธาน
ค. ภาวนาปธาน ง. อนุรักขนาปธาน
คำตอบ : ข
๓๐. จงรักษาความดี ดุจเกลือรักษาความเค็ม ตรงกับข้อใด ?
ก. สังวรปธาน ข. ปหานปธาน
ค. ภาวนาปธาน ง. อนุรักขนาปธาน
คำตอบ : ง
๓๑. จาคะ ในอธิษฐานธรรม มีความหมายว่าอย่างไร ?
ก. แบ่งปันสิ่งของแก่ผู้ประสบภัย
ข. สละทรัพย์สร้างสวนสาธารณะ
ค. สละสิ่งเป็นข้าศึกความจริงใจ
ง. บริจาคโลหิตช่วยเหลือผู้ป่วย
คำตอบ : ค
๓๒. จะประสบความสำเร็จในชีวิตได้ เพราะมีธรรมหมวดใด ?
ก. จักร ๔ ข. อิทธิบาท ๔
ค. วุฒิ ๔ ง. ปธาน ๔
คำตอบ : ข
๓๓. หมั่นทบทวนหาเหตุผลในสิ่งที่ทำ ตรงกับข้อใด ?
ก. ฉันทะ ข. วิริยะ
ค. จิตตะ ง. วิมังสา
คำตอบ : ง
๓๔. ควรแผ่พรหมวิหารข้อใด ไปยังสัตว์ผู้มีทุกข์ ?
ก. เมตตา ข. กรุณา
ค. มุทิตา ง. อุเบกขา
คำตอบ : ข
๓๕. ในการพิจารณาคดีความ ควรยึดธรรมข้อใดเป็นหลัก ?
ก. เมตตา ข. กรุณา
ค. มุทิตา ง. อุเบกขา
คำตอบ : ง
๓๖. อริยทรัพย์ หมายถึงทรัพย์ในข้อใด ?
ก. ทรัพย์ภายนอก ข. ทรัพย์ภายใน
ค. ทรัพย์สิน ง. ทรัพย์มรดก
คำตอบ : ข
๓๗. ข้อใด เป็นอนันตริยกรรม ?
ก. เผาโรงเรียน ข.
ทำลายทรัพย์สิน
ค. ทำร้ายร่างกาย ง.
ทำสงฆ์ให้แตกกัน
คำตอบ : ง
๓๘. ข้อใด ไม่นับเข้าในอานิสงส์ของการฟังธรรม ?
ก. ได้ความเพลิดเพลิน ข. ได้ฟังเรื่องใหม่ ๆ
ค. มีจิตใจผ่องใส ง.
บรรเทาความสงสัย
คำตอบ : ก
๓๙. สติในพละ ๕ เปรียบเทียบได้กับข้อใด ?
ก. เรือ ข. หางเสือเรือ
ค. คนพายเรือ ง. ท่าจอดเรือ
คำตอบ : ข
๔๐. สังขารในขันธ์
๕ ตรงกับข้อใด ?
ก. การรับรู้อารมณ์ ข. ความคิดปรุงแต่ง
ค. สิ่งที่มีใจครอง ง. สิ่งที่มองเห็นได้
คำตอบ : ข
๔๑. รู้สิ่งใดไม่สู้รู้วิชา ภายหน้าเติบใหญ่ได้งานทำ
ตรงกับข้อใด ?
ก. เคารพในพระพุทธเจ้า ข. เคารพในพระสงฆ์
ค. เคารพในการศึกษา ง.
เคารพในหน้าที่
คำตอบ : ค
๔๒. คบคนให้ดูหน้า ซื้อผ้าให้ดูเนื้อ จัดเข้าในสัปปุริสธรรมข้อใด ?
ก. รู้จักตน ข.
รู้จักประมาณ
ค. รู้จักชุมชน ง.
รู้จักบุคคล
คำตอบ : ง
๔๓. ช้าเสียการ นานเสียกิจ จัดเข้าในสัปปุริสธรรมข้อใด ?
ก. รู้จักเหตุ ข.
รู้จักผล
ค. รู้จักกาล ง.
รู้จักประมาณ
คำตอบ : ค
๔๔. จน เครียด กินเหล้า แล้วไม่ทำงาน จัดเป็นคนเช่นไร ?
ก. เกียจคร้าน ข. เจ็บป่วย
ค. ตกงาน ง. สิ้นหวัง
คำตอบ : ก
๔๕. ต่อหน้าสรรเสริญ ลับหลังนินทา เป็นลักษณะของมิตรเทียมประเภทใด
?
ก. คนปอกลอก ข. คนดีแต่พูด
ค. คนหัวประจบ ง. คนชักชวนให้ฉิบหาย
คำตอบ : ค
๔๖. มิตรเทียมเช่นไร ควรหลีกหนีให้ไกลสุด ?
ก. คนปอกลอก
ข.
คนหัวประจบ
ค. คนดีแต่พูด
ง. คนชักชวนให้ฉิบหาย
คำตอบ : ง
๔๗. ห้ามชั่ว แนะดี ชี้ทางสวรรค์ เป็นมิตรประเภทใด ?
ก. มิตรมีอุปการะ ข. มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์
ค. มิตรแนะประโยชน์ ง.
มิตรมีความรักใคร่
คำตอบ : ค
๔๘. การช่วยเหลือประโยชน์ส่วนรวม ตรงกับสังคหวัตถุข้อใด ?
ก. ทาน ข. ปิยวาจา
ค. อัตถจริยา ง. สมานัตตตา
คำตอบ : ค
๔๙. ครูอาจารย์ ได้แก่บุคคลในทิศใด ?
ก. ทิศเบื้องขวา ข. ทิศเบื้องซ้าย
ค. ทิศเบื้องหน้า ง. ทิศเบื้องหลัง
คำตอบ : ก
๕๐. อยู่เลี้ยงกาย ตายเลี้ยงวิญญาณ เป็นหน้าที่ของใคร ?
ก. บิดามารดา ข. บุตรธิดา
ค. ครูอาจารย์ ง. มิตรสหาย
คำตอบ : ข
*** ***
***
เฉลยวิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันพฤหัสบดี ที่ ๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๐
๑. |
ก |
๑๑. |
ข |
๒๑. |
ก |
๓๑. |
ค |
๔๑. |
ค |
๒. |
ก |
๑๒. |
ค |
๒๒. |
ง |
๓๒. |
ข |
๔๒. |
ง |
๓. |
ข |
๑๓. |
ก |
๒๓. |
ข |
๓๓. |
ง |
๔๓. |
ค |
๔. |
ค |
๑๔. |
ข |
๒๔. |
ง |
๓๔. |
ข |
๔๔. |
ก |
๕. |
ง |
๑๕. |
ข |
๒๕. |
ข |
๓๕. |
ง |
๔๕. |
ค |
๖. |
ข |
๑๖. |
ค |
๒๖. |
ข |
๓๖. |
ข |
๔๖. |
ง |
๗. |
ง |
๑๗. |
ก |
๒๗. |
ง |
๓๗. |
ง |
๔๗. |
ค |
๘. |
ข |
๑๘. |
ก |
๒๘. |
ก |
๓๘. |
ก |
๔๘. |
ค |
๙. |
ข |
๑๙. |
ง |
๒๙. |
ข |
๓๙. |
ข |
๔๙. |
ก |
๑๐. |
ค |
๒๐. |
ค |
๓๐. |
ง |
๔๐. |
ข |
๕๐. |
ข |
ปัญหาและเฉลยวิชาพุทธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันพฤหัสบดี ที่ ๒๙ พฤศจิกายน
พ.ศ. ๒๕๕๐
เวลา
๑๔.๐๐ น.
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว
แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ
ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
คำตอบ : ค
คำตอบ : ง
คำตอบ : ง
คำตอบ : ค
คำตอบ : ข
คำตอบ : ง
คำตอบ : ง
คำตอบ : ข
คำตอบ : ก
คำตอบ : ง
คำตอบ : ค
คำตอบ : ค
คำตอบ : ก
คำตอบ : ข
คำตอบ : ค
คำตอบ : ค
คำตอบ : ข
คำตอบ : ก
คำตอบ : ง
คำตอบ : ง
คำตอบ : ค
คำตอบ : ง
คำตอบ : ข
คำตอบ : ค
คำตอบ : ข
คำตอบ : ก
คำตอบ : ง
คำตอบ : ค
คำตอบ : ง
คำตอบ : ข
คำตอบ : ก
คำตอบ : ข
คำตอบ : ค
คำตอบ : ก
คำตอบ : ข
คำตอบ : ง
คำตอบ : ค
คำตอบ : ก
คำตอบ : ค
คำตอบ : ข
คำตอบ : ก
คำตอบ : ง
คำตอบ : ข
คำตอบ : ค
คำตอบ : ก
คำตอบ : ก
คำตอบ : ง
คำตอบ : ก
คำตอบ : ง
คำตอบ : ข
*** ***
***
เฉลยวิชาพุทธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันพฤหัสบดี ที่ ๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๐
๑. |
ค |
๑๑. |
ค |
๒๑. |
ค |
๓๑. |
ก |
๔๑. |
ก |
๒. |
ง |
๑๒. |
ค |
๒๒. |
ง |
๓๒. |
ข |
๔๒. |
ง |
๓. |
ง |
๑๓. |
ก |
๒๓. |
ข |
๓๓. |
ค |
๔๓. |
ข |
๔. |
ค |
๑๔. |
ข |
๒๔. |
ค |
๓๔. |
ก |
๔๔. |
ค |
๕. |
ข |
๑๕. |
ค |
๒๕. |
ข |
๓๕. |
ข |
๔๕. |
ก |
๖. |
ง |
๑๖. |
ค |
๒๖. |
ก |
๓๖. |
ง |
๔๖. |
ก |
๗. |
ง |
๑๗. |
ข |
๒๗. |
ง |
๓๗. |
ค |
๔๗. |
ง |
๘. |
ข |
๑๘. |
ก |
๒๘. |
ค |
๓๘. |
ก |
๔๘. |
ก |
๙. |
ก |
๑๙. |
ง |
๒๙. |
ง |
๓๙. |
ค |
๔๙. |
ง |
๑๐. |
ง |
๒๐. |
ง |
๓๐. |
ข |
๔๐. |
ข |
๕๐. |
ข |
ปัญหาและเฉลยวิชาเบญจศีล-เบญจธรรม ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันพฤหัสบดี ที่ ๒๙ พฤศจิกายน
พ.ศ. ๒๕๕๐
เวลา
๑๕.๐๐ น.
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว
แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ
ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
คำตอบ : ก
คำตอบ : ง
คำตอบ : ค
คำตอบ : ง
คำตอบ : ก
คำตอบ : ข
คำตอบ : ก
คำตอบ : ง
คำตอบ : ก
คำตอบ : ค
คำตอบ : ง
คำตอบ : ก
คำตอบ : ค
คำตอบ : ก
คำตอบ : ง
คำตอบ : ค
คำตอบ : ข
คำตอบ : ค
คำตอบ : ง
คำตอบ : ก
คำตอบ : ค
คำตอบ : ข
คำตอบ : ข
คำตอบ : ง
คำตอบ : ค
คำตอบ : ค
คำตอบ : ก
คำตอบ : ง
คำตอบ : ง
คำตอบ : ง
คำตอบ : ค
คำตอบ : ข
คำตอบ : ข
คำตอบ : ง
คำตอบ : ข
คำตอบ : ก
คำตอบ : ข
คำตอบ : ก
คำตอบ : ง
คำตอบ : ข
คำตอบ : ข
คำตอบ : ก
คำตอบ : ก
คำตอบ : ค
คำตอบ : ก
คำตอบ : ง
คำตอบ : ง
คำตอบ : ก
คำตอบ : ก
คำตอบ : ค
*** *** ***
เฉลยวิชาเบญจศีล-เบญจธรรม
(วินัย) ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันพฤหัสบดี ที่ ๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๐
๑. |
ก |
๑๑. |
ง |
๒๑. |
ค |
๓๑. |
ค |
๔๑. |
ข |
๒. |
ง |
๑๒. |
ก |
๒๒. |
ข |
๓๒. |
ข |
๔๒. |
ก |
๓. |
ค |
๑๓. |
ค |
๒๓. |
ข |
๓๓. |
ข |
๔๓. |
ก |
๔. |
ง |
๑๔. |
ก |
๒๔. |
ง |
๓๔. |
ง |
๔๔. |
ค |
๕. |
ก |
๑๕. |
ง |
๒๕. |
ค |
๓๕. |
ข |
๔๕. |
ก |
๖. |
ข |
๑๖. |
ค |
๒๖. |
ค |
๓๖. |
ก |
๔๖. |
ง |
๗. |
ก |
๑๗. |
ข |
๒๗. |
ก |
๓๗. |
ข |
๔๗. |
ง |
๘. |
ง |
๑๘. |
ค |
๒๘. |
ง |
๓๘. |
ก |
๔๘. |
ก |
๙. |
ก |
๑๙. |
ง |
๒๙. |
ง |
๓๙. |
ง |
๔๙. |
ก |
๑๐. |
ค |
๒๐. |
ก |
๓๐. |
ง |
๔๐. |
ข |
๕๐. |
ค |
กระทู้ธรรม ธรรมศึกษาชั้นโท
สอบในสนามหลวง
วันพฤหัสบดี ที่ ๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๐
เวลา
๐๘.๓๐ น.
สุขกามานิ ภูตานิ โย ทณฺเฑน น วิหึสติ
อตฺตโน สุขเมสาโน เปจฺจ
โส ลภเต สุขํ.
สัตว์ทั้งหลายย่อมต้องการความสุข
ผู้ใดแสวงหาสุขเพื่อตน ไม่เบียดเบียนเขาด้วยอาชญา ผู้นั้นละไปแล้ว ย่อมได้สุข.
(พุทฺธ) ธ.๒๕/๓๒.
-------------------- |
|
แต่งอธิบายเป็นทำนองเทศนาโวหาร
อ้างสุภาษิตอื่นมาประกอบไม่น้อยกว่า ๒ ข้อ
และบอกชื่อคัมภีร์ที่มาแห่งสุภาษิตนั้นด้วย ห้ามอ้างสุภาษิตซ้ำข้อกันแต่จะซ้ำคัมภีร์ได้
ไม่ห้าม สุภาษิตที่อ้างมานั้น ต้องเรียงเชื่อมความให้ติดต่อสมเรื่องกับกระทู้ตั้ง. |
ชั้นนี้
กำหนดให้เขียนลงในใบตอบ ตั้งแต่ ๓ หน้า (เว้นบรรทัด) ขึ้นไป
|
-------------------- |
ให้เวลา ๓ ชั่วโมง
|
ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นโท
สอบในสนามหลวง
วันพฤหัสบดี ที่ ๒๙ พฤศจิกายน
พ.ศ. ๒๕๕๐
เวลา
๑๓.๐๐ น.
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว
แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ
ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑. สมถกัมมัฏฐาน ตรงกับข้อใด ?
ก. อุบายสงบกาย ข. อุบายสงบวาจา
ค. อุบายสงบใจ ง. อุบายเรืองปัญญา
คำตอบ : ค
๒. กัมมัฏฐานข้อใด อบรมให้เกิดปัญญา ?
ก. สมถกัมมัฏฐาน ข.
วิปัสสนากัมมัฏฐาน
ค. อสุภกัมมัฏฐาน ง.
อนุสสติกัมมัฏฐาน
คำตอบ : ข
๓. ผู้หมั่นเจริญกัมมัฏฐาน ย่อมได้รับประโยชน์โดยตรงด้านใด ?
ก. จิตใจสงบ ข. มีสุขภาพดี
ค. ความจำดี ง. ขยันทำงาน
คำตอบ : ก
๔. สิ่งอันเป็นเหตุให้ใคร่ เรียกว่าอะไร ?
ก. วัตถุกาม ข. กิเลสกาม
ค. กามคุณ ง. กามฉันทะ
คำตอบ : ข
๕. ข้อใด ไม่จัดเป็นวัตถุกาม ?
ก. เกมส์ ข. ล๊อตเตอรี่
ค. เพลง ง. ความรัก
คำตอบ : ง
๖. ข้อใด จัดเป็นปฏิบัติบูชา ?
ก. ตักบาตรพระ ข. ถวายทาน
ค. ถวายพวงมาลัย ง. รักษาศีล
คำตอบ : ง
๗. ข้อใด จัดเป็นธัมมปฏิสันถาร ?
ก. ต้อนรับตามฐานะ ข. นำน้ำดื่มมาให้
ค. ให้หนังสือธรรมะ ง. ถามถึงธุระที่มา
คำตอบ : ก
๘. ข้อใด เป็นเหตุให้เกิดเจตสิกสุข สุขทางใจ ?
ก. รู้จักพอเพียง ข. มีการงานดี
ค. มีทรัพย์มาก ง. มีตำแหน่งสูง
คำตอบ : ก
๙. ผู้ถูกวิหิงสาวิตกครอบงำ มักมีพฤติกรรมเช่นไร ?
ก. ฝักใฝ่ในกาม ข. ปองร้ายผู้อื่น
ค. โลภอยากได้ ง. ทรมานสัตว์
คำตอบ : ง
๑๐. เมื่อถูกวิหิงสาวิตกครอบงำ จะบรรเทาได้อย่างไร ?
ก. เจริญเมตตา ข. เจริญกรุณา
ค. เจริญมุทิตา ง. เจริญอุเบกขา
คำตอบ : ข
๑๑. ไฟในข้อใด ทำให้คนหลงผิดเห็นกงจักรเป็นดอกบัว ?
ก. ไฟคือราคะ ข. ไฟคือโทสะ
ค. ไฟคือโมหะ ง. ไฟคือตัณหา
คำตอบ : ค
๑๒. ประชาธิปไตยจะสมบูรณ์ ต้องมีอะไรเป็นพื้นฐาน ?
ก. อัตตาธิปเตยยะ ข. โลกาธิปเตยยะ
ค. ธัมมาธิปเตยยะ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ค
๑๓. การปกครองระบอบประชาธิปไตย สงเคราะห์เข้าในข้อใด ?
ก. อัตตาธิปเตยยะ ข. โลกาธิปเตยยะ
ค. ธัมมาธิปเตยยะ ง. อนาธิปเตยยะ
คำตอบ : ข
๑๔. ข้อใดเป็นความหมายของคำว่า ญาณ ?
ก. สมาธิชั้นสูง ข. ปัญญาหยั่งรู้
ค. มีอิทธิฤทธิ์ ง. การเข้าฌาน
คำตอบ : ข
๑๕. ข้อใด ไม่จัดเป็นตัณหา ?
ก. อยากมีบ้านใหม่ ข.
อยากให้คนนับถือ
ค. อยากอยู่คนเดียว ง.
อยากรักษาโรคร้าย
คำตอบ : ง
๑๖. ข้อใด เป็นโทษของตัณหา ?
ก. ให้เกิดทุกข์ ข. ให้มัวเมา
ค. ให้ยึดมั่นถือมั่น ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๑๗. ผู้ตกเป็นเหยื่อของมิจฉาชีพ ซึ่งมาในรูปแบบต่างๆ
เพราะ
?
ก. เกิดความโลภ ข. ขาดปัญญา
ค. ข่มใจไว้ไม่ได้ ง. เชื่อคนง่าย
คำตอบ : ก
๑๘. ปาฏิหาริย์อะไร ทำให้คนละชั่วประพฤติดีได้ ?
ก. อาเทสนาปาฏิหาริย์ ข. อิทธิปาฏิหาริย์
ค. อนุสาสนีปาฏิหาริย์ ง. ยมกปาฏิหาริย์
คำตอบ : ค
๑๙. พระอภิธรรมปิฎก ว่าด้วยเรื่องอะไร ?
ก. แสดงระเบียบปฏิบัติ ข. แสดงบุคคลาธิษฐาน
ค. แสดงธรรมาธิษฐาน ง. แสดงอิทธิปาฏิหารย์
คำตอบ : ง
๒๐. พระพุทธเจ้าแสดงธรรมประกาศพระศาสนา จัดเป็นจริยาใด ?
ก. อัตตัตถจริยา ข. โลกัตถจริยา
ค. ญาตัตถจริยา ง. พุทธัตถจริยา
คำตอบ : ง
๒๑. ข้อใด ไม่ใช่โลกัตถจริยา ?
ก. ตรวจดูสัตว์โลก ข. โปรดเวไนยสัตว์
ค. ตอบปัญหาเทวดา ง. โปรดพุทธบิดา
คำตอบ : ง
๒๒. ค้ายาบ้าแล้วถูกจับติดคุก สงเคราะห์เข้าในวัฏฏะข้อใด ?
ก. กิเลสวัฏฏ์ ข. กัมมวัฏฏ์
ค. วิปากวัฏฏ์ ง. สังสารวัฏฏ์
คำตอบ : ค
๒๓. เพราะเหตุใด มนุษย์จึงต้องเวียนว่ายตายเกิด ?
ก. ทำกรรมชั่ว ข. มีโลกนี้โลกหน้า
ค. รับผลกรรม ง. มีกิเลสกรรมวิบาก
คำตอบ : ง
๒๔. คำว่า สิกขา มีความหมายว่าอย่างไร ?
ก. เรียนหนังสือ ข. ฝึกหัดกายวาจาใจ
ค. รักษาความดี ง. เจริญสมาธิภาวนา
คำตอบ : ข
๒๕. สาระสำคัญของการศึกษาไตรสิกขา คืออะไร ?
ก. เป็นมนุษย์สมบูรณ์ ข.
โลกสงบร่มเย็น
ค. โลกเจริญก้าวหน้า ง. ทำให้โลกพัฒนา
คำตอบ : ก
๒๖. การบำเพ็ญสมถกัมมัฏฐาน ตรงกับสิกขาข้อใด ?
ก. อธิสีลสิกขา ข. อธิจิตตสิกขา
ค. อธิปัญญาสิกขา ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ข
๒๗. ในอปัสเสนธรรม ข้อพิจารณาแล้วบรรเทา ตรงกับข้อใด ?
ก. งดเหล้าเข้าพรรษา ข. งดอบายมุข
ค. งดจองเวรต่อกัน ง. งดสูบบุหรี่
คำตอบ : ค
๒๘. ยาบ้าและสิ่งเสพติด พิจารณาแล้ว ควรทำอย่างไร ?
ก. เสพ ข. อดกลั้น
ค. เว้น ง. บรรเทา
คำตอบ : ค
๒๙. ปรารถนาให้ผู้อื่นมีความสุข จัดเป็นอัปปมัญญาข้อใด ?
ก. เมตตา ข. กรุณา
ค. มุทิตา ง. อุเบกขา
คำตอบ : ก
๓๐. มีจิตริษยาเมื่อเห็นคนอื่นได้ดี ชื่อว่าไม่มีอัปปมัญญาข้อใด ?
ก. เมตตา ข. กรุณา
ค. มุทิตา ง. อุเบกขา
คำตอบ : ค
๓๑. อัปปมัญญาข้อใด เป็นคุณให้เกิดความเที่ยงธรรม ?
ก. เมตตา ข. กรุณา
ค. มุทิตา ง. อุเบกขา
คำตอบ : ง
๓๒. ข้อใด กล่าวการเกิดในภพใหม่ของพระโสดาบันไม่ถูกต้อง ?
ก. ไม่เกิดในอบายภูมิ ข.
เกิดไม่เกินเจ็ดชาติ
ค. เกิดใหม่เป็นโสดาบัน ง. เกิดใหม่เป็นปุถุชน
คำตอบ : ง
๓๓. ทำราคะ โทสะ โมหะ ให้เบาบาง เป็นคุณสมบัติของใคร ?
ก. พระโสดาบัน ข. พระอนาคามี
ค. พระสกทาคามี ง. พระอรหันต์
คำตอบ : ค
๓๔. โสดาบัน แปลว่าอะไร ?
ก. ผู้ไกลจากกิเลส ข. ผู้ประเสริฐสูงสุด
ค. ผู้ไม่มาโลกนี้อีก ง.
ผู้ถึงกระแสนิพพาน
คำตอบ : ง
๓๕. กิเลสในข้อใด พระอนาคามีละได้เด็ดขาด ?
ก. กามราคะ ข. รูปราคะ
ค. อรูปราคะ ง. มานะ
คำตอบ : ก
๓๖. กิเลสที่เป็นดุจกระแสน้ำท่วมใจสัตว์ เรียกว่าอะไร ?
א. โยคะ ข. โอฆะ
ค. อาสวะ ง. มานะ
คำตอบ : ข
๓๗. อริยสัจในข้อใด จัดว่าเป็น เหตุ ?
ก. ทุกข์ สมุทัย ข.
สมุทัย
นิโรธ
ค. สมุทัย มรรค ง. มรรค นิโรธ
คำตอบ : ค
๓๘. บุคคลที่พอแนะนำให้ตรัสรู้ตามได้ ตรงกับข้อใด ?
ก. อุคฆติตัญญู ข. วิปจิตัญญู
ค. เนยยะ ง. ปทปรมะ
คำตอบ : ค
๓๙. อนุปุพพีกถาข้อใด ฟอกจิตไม่ให้เป็นคนโหดร้าย ?
ก. ทานกถา ข. สีลกถา
ค. สัคคกถา ง. กามาทีนวกถา
คำตอบ : ข
๔๐. บูชาพระคุณ ค้ำจุนพระศาสนา พาสู่ความสงบ จบแค่นิพพาน
หมายถึงอนุปุพพีกถาข้อใด ?
ก. ทานกถา ข. สีลกถา
ค. สัคคกถา ง. เนกขัมมานิสังสกถา
คำตอบ : ง
๔๑. กลัวคนอื่นจะดีกว่า จัดเป็นมัจฉริยะใด ?
ก. กุลมัจฉริยะ ข.
ลาภมัจฉริยะ
ค. วัณณมัจฉริยะ ง.
ธัมมมัจฉริยะ
คำตอบ : ค
๔๒. เหตุใด ความตายจึงชื่อว่า มัจจุมาร ?
ก. เพราะเป็นเหตุตัดกิเลส ข. เพราะเป็นเหตุตัดทุกข์
ค. เพราะเป็นเหตุตัดชีวิต ง. เพราะเป็นเหตุตัดความดี
คำตอบ : ค
๔๓. เวทนา มีความหมายตรงกับข้อใด ?
ก. ความเจ็บปวด ข. ความรู้สึก
ค. ความเห็นใจ ง. ความสงสาร
คำตอบ : ข
๔๔. เมตตา เป็นสัปปายะแก่คนมีจริตอะไร ?
ก. ราคจริต ข. โทสจริต
ค. โมหจริต ง. วิตกจริต
คำตอบ : ข
๔๕. คนคิดฟุ้งซ่านจนนอนไม่หลับ ควรแก้ด้วยวิธีใด ?
ก. เจริญอานาปานสติ ข.
เจริญมรณสติ
ค. เจริญเทวตานุสสติ ง.
เจริญกายคตาสติ
คำตอบ : ก
๔๖. พระธรรมคุณข้อว่า สนฺทิฏฺฐิโก ตรงกับข้อใด ?
ก. ผู้บรรลุพึงเห็นเอง ข. ชนพึงรู้เฉพาะตน
ค. ควรเรียกให้มาดู ง.
พึงน้อมเข้ามาในตน
คำตอบ : ก
๔๗. ความรู้คู่คุณธรรม ตรงกับพระพุทธคุณข้อใด ?
ก. สมฺมาสมฺพุทฺโธ ข.
วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน
ค. สุคโต โลกวิทู ง.
สตฺถา เทวมนุสฺสานํ
คำตอบ : ข
๔๘. พระสงฆ์ได้ชื่อว่า อุชุปฏิปนฺโน เพราะปฏิบัติตนเช่นไร ?
ก. ปฏิบัติดีแล้ว ข. ปฏิบัติไม่ลวงโลก
ค. ปฏิบัติชอบ ง. ปฏิบัติสมควร
คำตอบ : ข
๔๙. โครงการทุนเล่าเรียนหลวง ที่พระราชทานแก่คณะสงฆ์ไทย
จัดเป็นบารมีใด ?
ก. ทานบารมี ข. ปัญญาบารมี
ค. อธิษฐานบารมี ง. เมตตาบารมี
คำตอบ : ก
๕๐. ยามบุญมาวาสนาช่วย ที่ป่วยก็หาย
ที่หน่ายก็รัก ตรงกับข้อใด ?
ก. กุศลชนกกรรม ข. กุศลอุปัตถัมภกกรรม
ค. กุศลอาสันนกรรม ง. กุศลอาจิณณกรรม
คำตอบ : ข
*** ***
***
เฉลยวิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นโท
สอบในสนามหลวง
วันพฤหัสบดี ที่ ๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๐
๑. |
ค |
๑๑. |
ค |
๒๑. |
ง |
๓๑. |
ง |
๔๑. |
ค |
๒. |
ข |
๑๒. |
ค |
๒๒. |
ค |
๓๒. |
ง |
๔๒. |
ค |
๓. |
ก |
๑๓. |
ข |
๒๓. |
ง |
๓๓. |
ค |
๔๓. |
ข |
๔. |
ข |
๑๔. |
ข |
๒๔. |
ข |
๓๔. |
ง |
๔๔. |
ข |
๕. |
ง |
๑๕. |
ง |
๒๕. |
ก |
๓๕. |
ก |
๔๕. |
ก |
๖. |
ง |
๑๖. |
ง |
๒๖. |
ข |
๓๖. |
ข |
๔๖. |
ก |
๗. |
ก |
๑๗. |
ก |
๒๗. |
ค |
๓๗. |
ค |
๔๗. |
ข |
๘. |
ก |
๑๘. |
ค |
๒๘. |
ค |
๓๘. |
ค |
๔๘. |
ข |
๙. |
ง |
๑๙. |
ง |
๒๙. |
ก |
๓๙. |
ข |
๔๙. |
ก |
๑๐. |
ข |
๒๐. |
ง |
๓๐. |
ค |
๔๐. |
ง |
๕๐. |
ข |
ปัญหาและเฉลยวิชาอนุพุทธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นโท
สอบในสนามหลวง
วันพฤหัสบดี ที่ ๒๙ พฤศจิกายน
พ.ศ. ๒๕๕๐
เวลา
๑๔.๐๐ น.
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว
แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ
ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
คำตอบ : ข
คำตอบ : ข
คำตอบ : ค
คำตอบ : ง
คำตอบ : ค
คำตอบ : ค
คำตอบ : ง
คำตอบ : ง
คำตอบ : ก
คำตอบ : ข
คำตอบ : ง
คำตอบ : ง
คำตอบ : ก
คำตอบ : ข
คำตอบ : ข
คำตอบ : ง
คำตอบ : ค
คำตอบ : ง
คำตอบ : ก
คำตอบ : ค
คำตอบ : ข
คำตอบ : ง
คำตอบ : ก
คำตอบ : ง
คำตอบ : ข
คำตอบ : ค
คำตอบ : ค
คำตอบ : ก
คำตอบ : ค
คำตอบ : ง
คำตอบ : ค
คำตอบ : ก
คำตอบ : ง
คำตอบ : ง
คำตอบ : ค
คำตอบ : ก
คำตอบ : ง
คำตอบ : ก
คำตอบ : ข
คำตอบ : ง
คำตอบ : ก
คำตอบ : ข
คำตอบ : ค
คำตอบ : ข
คำตอบ : ค
คำตอบ : ง
คำตอบ : ง
คำตอบ : ง
คำตอบ : ก
เฉลยวิชาอนุพุทธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นโท
สอบในสนามหลวง
วันพฤหัสบดี ที่ ๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๐
๑. |
ข |
๑๑. |
ง |
๒๑. |
ข |
๓๑. |
ค |
๔๑. |
ก |
๒. |
ข |
๑๒. |
ง |
๒๒. |
ง |
๓๒. |
ก |
๔๒. |
ข |
๓. |
ค |
๑๓. |
ก |
๒๓. |
ก |
๓๓. |
ง |
๔๓. |
ค |
๔. |
ง |
๑๔. |
ข |
๒๔. |
ง |
๓๔. |
ง |
๔๔. |
ข |
๕. |
ค |
๑๕. |
ข |
๒๕. |
ข |
๓๕. |
ค |
๔๕. |
ค |
๖. |
ค |
๑๖. |
ง |
๒๖. |
ค |
๓๖. |
ก |
๔๖. |
ง |
๗. |
ง |
๑๗. |
ค |
๒๗. |
ค |
๓๗. |
ง |
๔๗. |
ง |
๘. |
ง |
๑๘. |
ง |
๒๘. |
ก |
๓๘. |
ก |
๔๘. |
ง |
๙. |
ก |
๑๙. |
ก |
๒๙. |
ค |
๓๙. |
ข |
๔๙. |
ง |
๑๐. |
ข |
๒๐. |
ค |
๓๐. |
ง |
๔๐. |
ง |
๕๐. |
ก |
ปัญหาและเฉลยวิชาอุโบสถศีล (วินัย)
ธรรมศึกษาชั้นโท
สอบในสนามหลวง
วันพฤหัสบดี ที่ ๒๙ พฤศจิกายน
พ.ศ. ๒๕๕๐
เวลา
๑๕.๐๐ น.
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว
แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ
ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑. ชาวพุทธ ควรยึดถืออะไรเป็นที่พึ่งที่ระลึก ?
ก. ไตรสรณคมน์ ข. ไตรปิฎก
ค. ไตรลักษณ์ ง. ไตรสิกขา
คำตอบ : ก
๒. สรณคมน์ หมายถึงอะไร ?
คำตอบ : ง
๓. ข้อใด ไม่นับเข้าในสรณะทั้ง ๓ ?
ก. พระพุทธเจ้า ข. พระธรรม
ค. พระสงฆ์ ง. พระโพธิสัตว์
คำตอบ : ง
๔. สรณคมน์ขาดเพราะสาเหตุใด ไม่มีโทษ ?
ก. ความตาย ข. ทำร้ายพระศาสดา
ค. ไปนับถือศาสดาอื่น ง. ไม่มีข้อใดถูก
คำตอบ : ก
๕. ความเชื่อเช่นไร เป็นเหตุให้สรณคมน์เศร้าหมอง ?
ก. เชื่อกรรม ข. เชื่อบาปบุญ
ค. เชื่อมงคลตื่นข่าว ง. เชื่อสิ่งที่ควรเชื่อ
คำตอบ : ค
๖. จุดประสงค์ในการถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะ ตรงกับข้อใด ?
ก. ทำบุญเพื่อล้างบาป ข. ทำบุญแสวงหาลาภ
ค. หาเช่าจตุคามรุ่นนิยม ง. ปฏิบัติเพื่อกำจัดกิเลส
คำตอบ : ง
๗. การขาดสรณคมน์ เกิดขึ้นได้แก่บุคคลใด ?
ก. บุคคลทั่วไป ข. โสดาบันบุคคล
ค. สกทาคามีบุคคล ง. อนาคามีบุคคล
คำตอบ : ก
๘. สุปปพุทธกุฏฐิ เป็นแบบอย่างของบุคคลผู้มั่นคงในเรื่องใด ?
ก. การถือศีล ข. การถือสันโดษ
ค. การถือสัจจะ ง. การถือสรณคมน์
คำตอบ : ง
๙. ตัดเศียรพระพุทธรูป
เป็นความเศร้าหมองแห่งสรณคมน์เรื่องใด ?
ค. ความสงสัย ง. ความไม่เอื้อเฟื้อ
คำตอบ : ง
๑๐. นรกมีจริงหรือ
เป็นความเศร้าหมองแห่งสรณคมน์เรื่องใด ?
ค. ความสงสัย ง. ความไม่เอื้อเฟื้อ
คำตอบ : ค
๑๑. ผู้นั่งใกล้พระรัตนตรัย หมายเฉพาะใคร ?
ก. ภิกษุ
ภิกษุณี ข. สามเณร สามเณรี
ค. อุบาสก อุบาสิกา ง. พุทธบริษัททั้ง ๔
คำตอบ : ค
๑๒. พาณิชสองพี่น้องเข้าถึงพระรัตนตรัยด้วยวิธีใด ?
ก. สมาทาน ข. มอบตนเป็นสาวก
ค. ถวายชีวิต ง. แสดงความเลื่อมใส
คำตอบ : ก
๑๓. ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน เป็นความหมายของข้อใด ?
คำตอบ : ก
๑๔. คำว่า ธรรมรักษา ในความหมายของสรณะ
๓ ตรงกับข้อใด ?
ก. กำจัดภัย ข. ไม่ให้ตกอบาย
ค. เป็นเนื้อนาบุญ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ข
๑๕. พระสงฆ์ได้นามว่า สังฆะ เพราะเหตุใด ?
ก. บวชในพระพุทธศาสนา ข. มีทิฏฐิและศีลเสมอกัน
ค. อาศัยอยู่ในวัดเดียวกัน ง. โกนผมห่มจีวรเหมือนกัน
คำตอบ : ข
๑๖. คำเปล่งวาจาว่า สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ หมายถึงอะไร ?
ก. มีพระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่งที่ระลึก
ข. มีพระธรรมเป็นที่พึ่งที่ระลึก
คำตอบ : ค
๑๗. การรักษาอุโบสถศีลในพระพุทธศาสนา
มีต้นเหตุมาจากใคร ?
ก. พระเจ้าสุทโธทนะ ข. พระเจ้าพิมพิสาร
ค. พระเจ้าปเสนทิโกศล ง. พระเจ้าอชาตศัตรู
คำตอบ : ข
๑๘. คำว่า
อุโบสถ แปลว่าอะไร ?
คำตอบ : ก
๑๙. อุโบสถเริ่มปฏิบัติกันมาตั้งแต่สมัยใด ?
ค. กึ่งพุทธกาล ง. หลังพุทธกาล
คำตอบ : ก
๒๐. อุโบสถประกอบด้วยสรณะและองค์
๘ เกิดขึ้นในสมัยใด ?
ค. กึ่งพุทธกาล ง. หลังพุทธกาล
คำตอบ : ค
๒๑. อุโบสถศีล บัญญัติขึ้นสำหรับใคร ?
ก. ภิกษุ ข. ภิกษุณี
ค. คนทั่วไป ง. อุบาสก อุบาสิกา
คำตอบ : ง
๒๒. อุโบสถศีลต่างจากศีล ๕ อย่างไร ?
ก. มีกำหนดเวลารักษา ข. ไม่มีกำหนดเวลารักษา
ค. เป็นพื้นฐานของมนุษย์ ง. เป็นบัญญัติชอบธรรม
คำตอบ : ก
๒๓. อาการเช่นไร เรียกว่ารักษาอุโบสถศีล ?
ก. การถือศีลกินเจ ข.
การถือไม่พูดกับใคร
ค. การงดเว้นข้อห้าม ง.
การงดเหล้าเข้าพรรษา
คำตอบ : ค
๒๔. การสมาทานอุโบสถศีล ข้อใดกล่าวถูกต้อง ?
ก. สมาทานในวันใดก็ได้ ข. สมาทานกับใครก็ได้
ค. สมาทานต่อหน้าพระสงฆ์ ง. สมาทานตามวันที่กำหนด
คำตอบ : ง
๒๕. สิกขาบทที่ ๓ แห่งอุโบสถศีล ว่าอย่างไร ?
ก. ปาณาติปาตา เวรมณีสิกฺขาปทํ สมาทิยามิ
ข. อพฺรหฺมจริยา เวรมณีสิกฺขาปทํ สมาทิยามิ
ค. มุสาวาทา เวรมณีสิกฺขาปทํ สมาทิยามิ
ง. วิกาลโภชนา เวรมณีสิกฺขาปทํ สมาทิยามิ
คำตอบ : ข
๒๖. ผู้สมาทานอุโบสถศีลข้อที่ ๓ พึงงดเว้นการกระทำในเรื่องใด ?
ก. การล่วงประเวณี ข. การพูดเท็จ
ค. การดื่มสุราเมรัย ง. การกินอาหาร
คำตอบ : ก
๒๗. อุโบสถศีลข้อที่ ๔ บัญญัติขึ้นเพื่อให้ผู้รักษาเป็นคนเช่นไร ?
ก. ขยัน ข. ประหยัด
ค. ซื่อสัตย์ ง. อดทน
คำตอบ : ค
๒๘. ปลาหมอตายเพราะปาก มีความหมายตรงกับข้อใด ?
ก. พูดเท็จ ข. ดื่มน้ำเมา
ค. บริโภคอาหาร ง. ขับร้องเพลง
คำตอบ : ก
๒๙. ข้าพเจ้าสมาทานสิกขาบทคือเว้นจากพูดเท็จ
ตรงกับศีลข้อใด ?
ก. ข้อ ๑ ข. ข้อ ๒
ค. ข้อ ๓ ง. ข้อ ๔
คำตอบ : ง
๓๐. สมาทานอุโบสถศีล แต่บริโภคอาหารค่ำ
ชื่อว่าละเมิดศีลข้อใด ?
ก. ข้อ ๓ ข. ข้อ ๔
ค. ข้อ ๕ ง. ข้อ ๖
คำตอบ : ง
๓๑. คำว่า วิกาล ในอุโบสถศีล
กำหนดไว้อย่างไร ?
ก. เช้าถึงเที่ยง ข. เช้าถึงบ่าย
ค. เช้าถึงเย็น ง. เที่ยงถึงอรุณขึ้น
คำตอบ : ง
๓๒. ประโยชน์ของการรักษาอุโบสถศีลข้อที่ ๖ ตรงกับข้อใด ?
ก. เพื่อทรมานกิเลส ข. เพื่อทรมานสังขาร
ค. เพื่อตัดความกังวล ง. เพื่อความประหยัด
คำตอบ : ค
๓๓. เพลงเช่นไร ไม่ถือว่าเป็นข้าศึกแก่การรักษาอุโบสถศีล ?
ก. เพลงลูกทุ่ง ข. เพลงเพื่อชีวิต
ค. เพลงธรรมะ ง. เพลงละครทีวี
คำตอบ : ค
๓๔. การเว้นจากการลูบไล้ทาเครื่องย้อมเครื่องประดับตกแต่งร่างกาย
ชื่อว่ารักษาอุโบสถศีลข้อใด ?
ก. ข้อ ๕ ข. ข้อ ๖
ค. ข้อ ๗ ง. ข้อ ๘
คำตอบ : ค
๓๕. ที่นั่งที่นอนเช่นไร อนุโลมแก่ผู้รักษาอุโบสถศีล ?
ก. ที่นั่งที่นอนสูง ข.
ที่นั่งที่นอนใหญ่
ค. ที่นั่งที่นอนยัดนุ่น ง.
ที่นั่งที่นอนยัดขนแกะ
คำตอบ : ง
๓๖. ข้อใด ไม่นับเข้าในอุโบสถศีลอันประกอบด้วยองค์
๘ ?
ก. ไม่ลักของผู้อื่น ข. ไม่พูดเท็จ
ค. ไม่ดูการละเล่น ง. ไม่จับเงินทอง
คำตอบ : ง
๓๗. อุโบสถศีลที่รักษาเฉพาะวันหนึ่งคืนหนึ่ง ตรงกับข้อใด ?
ก. ปกติอุโบสถ ข. ปฏิชาครอุโบสถ
ค. ปาฏิหาริยอุโบสถ ง. โคปาลกอุโบสถ
คำตอบ : ก
๓๘. การถือศีลอุโบสถ ปล่อยวันคืนให้ผ่านพ้นไปโดยเปล่าประโยชน์
ไม่ทำความดี อะไรเลย จัดเป็นอุโบสถประเภทใด ?
ก. ปกติอุโบสถ ข. ปฏิชาครอุโบสถ
ค. ปาฏิหาริยอุโบสถ ง. โคปาลกอุโบสถ
คำตอบ : ง
๓๙. การรักษาอุโบสถประเภทใด เทียบเคียงได้กับการจำพรรษาของพระภิกษุ
ในช่วงฤดูฝน ?
ก. ปกติอุโบสถ ข. ปฏิชาครอุโบสถ
ค. อริยอุโบสถ ง. ปาฏิหาริยอุโบสถ
คำตอบ : ง
๔๐. วันรับ วันรักษา วันส่ง มีความเกี่ยวข้องกับอุโบสถประเภทใด ?
ก. ปกติอุโบสถ ข. ปฏิชาครอุโบสถ
ค. ปาฏิหาริยอุโบสถ ง. โคปาลกอุโบสถ
คำตอบ : ข
๔๑. อุโบสถของนักบวชนอกพระพุทธศาสนา ตรงกับข้อใด ?
ก. ปฏิชาครอุโบสถ ข.
ปาฏิหาริยอุโบสถ
คำตอบ : ค
๔๒. ผู้สมาทานรักษาอุโบสถศีล พึงปฏิบัติตนอย่างไร ?
ก. บริจาคทาน ข. รักษาศีล
ค. เจริญภาวนา ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๔๓. การสมาทานอุโบสถศีล กำหนดให้สมาทานที่ไหน ?
ก. ที่วัด ข. ที่บ้าน
ค. ที่โรงพยาบาล ง. ที่ไหนก็ได้
คำตอบ : ง
๔๔. อัฏฐมีดิถี ในคำประกาศอุโบสถศีล หมายถึงวันใด ?
ก. วัน ๗ ค่ำ ข. วัน ๘ ค่ำ
ค. วัน ๑๔ ค่ำ ง. วัน ๑๕ ค่ำ
คำตอบ : ข
๔๕. การรักษาอุโบสถศีล ชื่อว่าปฏิบัติตามหลักธรรมหมวดใด ?
ก. บุญกิริยาวัตถุ ข. สังคหวัตถุ
ค. พรหมวิหาร ง. สติปัฏฐาน
คำตอบ : ก
๔๖. การรักษาอุโบสถศีล จะสิ้นสุดลงในเวลาใด ?
ก. เมื่อเลิกรักษา ข. เมื่อพ้นกำหนด
ค. เมื่อเจ็บป่วย ง. เมื่อมีญาติตาย
คำตอบ : ข
๔๗. การรักษาอุโบสถศีล จัดอยู่ในศาสนพิธีประเภทใด ?
ก. กุศลพิธี ข. บุญพิธี
ค. ทานพิธี ง. ปกิณกะ
คำตอบ : ก
๔๘. ข้อใด ไม่เกี่ยวข้องกับระเบียบพิธีในการรักษาอุโบสถศีล ?
ก. ประกาศองค์อุโบสถ ข. อาราธนาศีล
ค. อาราธนาธรรม ง. สมาทานศีล
คำตอบ : ค
๔๙. การรักษาอุโบสถศีล จัดเข้าในไตรสิกขาข้อใด ?
ก. ศีล ข. สมาธิ
ค. ปัญญา ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ก
๕๐. อุโบสถศีลที่รักษาดีแล้ว ย่อมได้รับอานิสงส์สูงสุดในข้อใด ?
ก. โภคสมบัติ ข. มนุษยสมบัติ
ค. สวรรคสมบัติ ง. นิพพานสมบัติ
คำตอบ : ง
*** ***
***
เฉลยวิชาอุโบสถศีล (วินัย) ธรรมศึกษาชั้นโท
สอบในสนามหลวง
วันพฤหัสบดี ที่ ๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๐
๑. |
ก |
๑๑. |
ค |
๒๑. |
ง |
๓๑. |
ง |
๔๑. |
ค |
๒. |
ง |
๑๒. |
ก |
๒๒. |
ก |
๓๒. |
ค |
๔๒. |
ง |
๓. |
ง |
๑๓. |
ก |
๒๓. |
ค |
๓๓. |
ค |
๔๓. |
ง |
๔. |
ก |
๑๔. |
ข |
๒๔. |
ง |
๓๔. |
ค |
๔๔. |
ข |
๕. |
ค |
๑๕. |
ข |
๒๕. |
ข |
๓๕. |
ง |
๔๕. |
ก |
๖. |
ง |
๑๖. |
ค |
๒๖. |
ก |
๓๖. |
ง |
๔๖. |
ข |
๗. |
ก |
๑๗. |
ข |
๒๗. |
ค |
๓๗. |
ก |
๔๗. |
ก |
๘. |
ง |
๑๘. |
ก |
๒๘. |
ก |
๓๘. |
ง |
๔๘. |
ค |
๙. |
ง |
๑๙. |
ก |
๒๙. |
ง |
๓๙. |
ง |
๔๙. |
ก |
๑๐. |
ค |
๒๐. |
ค |
๓๐. |
ง |
๔๐. |
ข |
๕๐. |
ง |
กระทู้ธรรม ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันพฤหัสบดี ที่ ๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๐
เวลา
๐๘.๓๐ น.
สามคฺยเมว สิกฺเขถ พุทฺเธเหตํ ปสํสิตํ
สามคฺยรโต ธมฺมฏฺโฐ โยคกฺเขมา น ธํสติ.
พึงศึกษาความสามัคคี, ความสามัคคีนั้น
ท่านผู้รู้ทั้งหลายสรรเสริญแล้ว, ผู้ยินดีในสามัคคี
ตั้งอยู่ในธรรม ย่อมไม่คลาดจากธรรมอันเกษมจากโยคะ.
(พุทฺธ) ขุ.ชา.เตรส
๒๗/๓๔๖
-------------------- |
|
แต่งอธิบายเป็นทำนองเทศนาโวหาร
อ้างสุภาษิตอื่นมาประกอบไม่น้อยกว่า ๓ ข้อ และบอกชื่อคัมภีร์ที่มาแห่งสุภาษิตนั้นด้วย
ห้ามอ้างสุภาษิตซ้ำข้อกันแต่จะซ้ำคัมภีร์ได้ ไม่ห้าม สุภาษิตที่อ้างมานั้น ต้องเรียงเชื่อมความให้ติดต่อสมเรื่องกับกระทู้ตั้ง. |
ชั้นนี้
กำหนดให้เขียนลงในใบตอบ ตั้งแต่ ๔ หน้า (เว้นบรรทัด) ขึ้นไป
|
-------------------- |
ให้เวลา ๓ ชั่วโมง
|
ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันพฤหัสบดี ที่ ๒๙ พฤศจิกายน
พ.ศ. ๒๕๕๐
เวลา
๑๓.๐๐ น.
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว
แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ
ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑. พระพุทธเจ้าทรงเชิญชวนให้มาดูโลก
เพื่อประโยชน์อะไร ?
ก. เพื่อคลายเครียด ข. เพื่อคลายทุกข์
ค. เพื่อให้รู้ความจริง ง. เพื่อเพลิดเพลิน
คำตอบ : ค
๒. คำว่า โลก ในส่วนปรมัตถปฏิปทา หมายถึงอะไร ?
ก. แผ่นดินน้ำอากาศ ข. แผ่นดินและหมู่สัตว์
ค. แผ่นดินที่อยู่อาศัย ง. หมู่สัตว์ผู้อยู่อาศัย
คำตอบ : ข
๓. คำว่า คนเขลา หมายถึงคนเช่นไร ?
ก. คนดื้อรั้น ข. คนมีความเห็นผิด
ค. คนขาดสติ ง. คนไม่มีการศึกษา
คำตอบ : ข
๔. คำว่า ผู้รู้ หมายถึงใคร ?
ก. ผู้รู้ทันโลก ข. ผู้รู้โลกตามเป็นจริง
ค. ผู้รู้โลกธรรม ง. ผู้รู้คดีโลกคดีธรรม
คำตอบ : ข
๕. คำว่า ข้องอยู่ในโลก ได้แก่อาการเช่นไร ?
ก. พัวพันอยู่ในสิ่งอันล่อใจ ข. มัวเมาในสิ่งที่อำนวยสุข
ค. เพลิดเพลินในสิ่งให้โทษ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๖. โทษล้างผลาญคุณความดีและทำให้เสียคน เรียกว่าอะไร ?
ก. มาร ข. บ่วงมาร
ค. เสนามาร ง. มัจจุมาร
คำตอบ : ค
๗. คนเช่นไร สงเคราะห์เข้าในคำว่า มาร ?
ก. คนเป็นศัตรูกัน ข. คนอันธพาล
ค. คนขัดขวางการทำดี ง. คนหลอกลวง
คำตอบ : ก
๘. คำว่า บ่วงแห่งมาร หมายถึงข้อใด ?
ก. กิเลสกาม ข. วัตถุกาม
ค. กามฉันท์ ง. กามตัณหา
คำตอบ : ข
๙. ทำอย่างไร จึงจะพ้นจากบ่วงแห่งมาร ?
ก. สำรวมอินทรีย์ ข. มนสิการกัมมัฏฐาน
ค. เจริญวิปัสสนา ง.
ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๑๐. เบื่อหน่ายอะไร จัดเป็นนิพพิทา ?
ก. เบื่อหน่ายสังขาร ข. เบื่อหน่ายการงาน
ค. เบื่อหน่ายการเรียน ง. เบื่อหน่ายสังคม
คำตอบ : ก
๑๑. คนและสัตว์ จัดเป็นสังขารประเภทใด ?
ก. วิสังขาร ข. ปุญญาภิสังขาร
ค. อุปาทินนกสังขาร ง. อนุปาทินนกสังขาร
คำตอบ : ค
๑๒. ความขาดแห่งสันตติ ทำให้เห็นอะไร ?
ก. ความไม่เที่ยง ข. ความทุกข์
ค. ความแก่ ง. ความตาย
คำตอบ : ก
๑๓. อนิจจลักษณะ ไม่ปรากฏในข้อใด ?
ก. ร่างกาย ข. จิตใจ
ค. ต้นไม้ ง. นิพพาน
คำตอบ : ง
๑๔. อนิจจตา มีลักษณะเช่นไร ?
ก. เกิดแล้วเสื่อมไป ข. ทนอยู่ไม่ได้
ค. ไม่อยู่ในอำนาจ ง. หาเจ้าของมิได้
คำตอบ : ก
๑๕. เกิด แก่ ตาย จัดเป็นทุกข์ประเภทใด ?
ก. สภาวทุกข์ ข. ปกิณณกทุกข์
ค. นิพัทธทุกข์ ง. พยาธิทุกข์
คำตอบ : ก
๑๖. มองไม่เห็นทุกข์ เพราะมีอะไรปิดบังไว้ ?
ก. สันตติ ข. อิริยาบถ
ค. ฆนสัญญา ง. สุขเวทนา
คำตอบ : ข
๑๗. ปกิณณกทุกข์ ได้แก่ข้อใด ?
ก. เศร้าโศกเสียใจ ข. หนาวร้อน
ค. เจ็บไข้ได้ป่วย ง. หิวกระหาย
คำตอบ : ก
๑๘. ข้อใด จัดเป็นนิพัทธทุกข์ ?
ก. เสียใจ ข. เจ็บป่วย
ค. เกิด แก่ ตาย ง. หนาวร้อน
คำตอบ : ง
๑๙. ลาภ ยศ สรรเสริญ จัดเป็นทุกข์ประเภทใด ?
ก. สภาวทุกข์ ข. ปกิณณกทุกข์
ค. นิพัทธทุกข์ ง. สหคตทุกข์
คำตอบ : ง
๒๐. ความไม่อยู่ในอำนาจ จัดเป็นอาการของอะไร ?
ก. อนิจจตา ข. ทุกขตา
ค. อนัตตตา ง. สามัญญตา
คำตอบ : ค
๒๑. ทุกสิ่งมีสภาพสูญ หมายถึงข้อใด ?
ก. ควบคุมไม่ได้ ข. ค้นหาไม่พบ
ค. ไม่เที่ยงแท้ ง. มีความแปรปรวน
คำตอบ : ก
๒๒. ข้อใด เป็นความหมายของวิราคะ ?
ก. สิ้นอาลัย ข. สิ้นกำหนัด
ค. สิ้นวัฏฏะ ง. สิ้นตัณหา
คำตอบ : ข
๒๓. วิกขัมภนวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยข่มไว้นั้น คือข่มอะไร ?
ก. โลภะ ข. โทสะ
ค. นิวรณ์ ง. ตัณหา
คำตอบ : ค
๒๔. การหลุดพ้นด้วยวิธีใด เรียกว่าปัญญาวิมุตติ ?
ก. เจริญสมถะอย่างเดียว ข. เจริญวิปัสสนาอย่างเดียว
ค. เจริญทั้งสมถะและวิปัสสนา ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ข
๒๕. วิสุทธิ
ความหมดจดแห่งสัตว์ทั้งหลาย ในพระพุทธศาสนากล่าวเรื่องนี้ไว้อย่างไร ?
א.
สัตว์บริสุทธิ์ได้ด้วยลอยบาป
ข. สัตว์บริสุทธิ์ได้ด้วยชำระบาป
ค. สัตว์บริสุทธิ์ได้ด้วยปัญญา
ง. สัตว์บริสุทธิ์ได้ด้วยเทพเจ้า
คำตอบ : ค
๒๖. ข้อใด ไม่จัดเข้าในสีลวิสุทธิ ความหมดจดแห่งศีล ?
ก. สัมมาวาจา ข. สัมมากัมมันตะ
ค. สัมมาอาชีวะ ง. สัมมาสมาธิ
คำตอบ : ง
๒๗. วิสุทธิ เป็นจุดหมายปลายทางของอะไร ?
ก. นิพพิทา ข. วิราคะ
ค. นิพพาน ง. วิมุตติ
คำตอบ : ก
๒๘. ข้อใด เป็นทางแห่งสันติภาพแท้ ?
ก. ทำตามกฎหมาย ข. เชื่อฟังผู้ใหญ่
ค. เคารพสิทธิผู้อื่น ง. มีกายวาจาใจสงบ
คำตอบ : ง
๒๙. ผู้เพ่งความสงบพึงละโลกามิส คำว่า โลกามิส คืออะไร ?
ก. กามคุณ ข. กามฉันท์
ค. กามกิเลส ง. กามราคะ
คำตอบ : ก
๓๐. ปฏิบัติอย่างไร จึงจะเข้าใกล้พระนิพพาน ?
ก. ฝึกสมาธิเป็นนิตย์ ข. เห็นภัยในความประมาท
ค. ฟังธรรมสม่ำเสมอ ง. รักษาศีลเป็นประจำ
คำตอบ : ข
๓๑. อุปมาว่า ไฟสิ้นเชื้อแล้วย่อมดับไปเอง กล่าวถึงเรื่องใด
?
ก. ฌาน ข. สมาบัติ
ค. อภิญญา ง. นิพพาน
คำตอบ : ง
๓๒. ข้อใด กล่าวถึงสอุปาทิเสสนิพพานได้ถูกต้อง ?
ก. ปฏิบัติเพื่อละกิเลส ข.
สิ้นกิเลส มีชีวิตอยู่
ค. สิ้นกิเลส สิ้นชีวิต ง.
สิ้นชีวิต มีกิเลสอยู่
คำตอบ : ข
๓๓. จิตที่เป็นสมาธิ มีลักษณะอย่างไร ?
ก. มีอารมณ์เดียว ข. ปราศจากนิวรณ์
ค. มีสมาธิตั้งมั่น ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๓๔. กายคตาสติกัมมัฏฐาน กำหนดอะไรเป็นอารมณ์ ?
ก. ผมขนเล็บฟันหนัง ข. ซากศพ
ค. ลมหายใจ ง. ความตาย
คำตอบ : ก
๓๕. ผู้เจริญกายคตาสติ ย่อมได้รับอานิสงส์อย่างไร ?
ก. ไม่กลัวความตาย
ข.
มีผิวพรรณผ่องใส
ค. มีจิตใจเบิกบาน ง. ไม่ยึดติดกายตนคนอื่น
คำตอบ : ง
๓๖. กายคตาสติ เป็นคู่ปรับนิวรณ์ใด ?
ก. กามฉันท์ ข. พยาบาท
ค. ถีนมิทธะ ง. วิจิกิจฉา
คำตอบ : ก
๓๗. ผู้เจริญเมตตา พึงแผ่ไปในใครก่อน ?
ก. ตนเอง ข. บิดามารดา
ค. คนทั่วไป ง. คนเป็นศัตรู
คำตอบ : ก
๓๘. ผู้เจริญพุทธานุสสติ ควรระลึกถึงอะไร ?
ก. พุทธประวัติ ข. พุทธโอวาท
ค. พระพุทธรูป ง. พระพุทธคุณ
คำตอบ : ง
๓๙. การเจริญกสิณ เพื่อข่มนิวรณ์ใด ?
ก. พยาบาท ข. วิจิกิจฉา
ค. อุทธัจจกุกกุจจะ ง. ถีนมิทธะ
คำตอบ : ค
๔๐. การกำหนดรูปกายโดยความเป็นธาตุ ๔ หมายถึงข้อใด ?
ก. จตุธาตุววัตถาน ข. อสุภกัมมัฏฐาน
ค. กายคตาสติ ง. อาหาเรปฏิกูลสัญญา
คำตอบ : ก
๔๑. ประโยชน์ของการเจริญอสุภกัมมัฏฐาน คือข้อใด ?
ก. คลายสงสัย ข. คลายกำหนัด
ค. ตัดกิเลส ง. ให้เกิดเมตตา
คำตอบ : ข
๔๒. การเจริญมรณสติ มีประโยชน์อย่างไร ?
ก. ทำให้ไม่ประมาท ข. ทำให้กล้าหาญ
ค. ทำให้อดทน ง. ทำให้วางเฉย
คำตอบ : ก
๔๓. คนโทสจริต มีลักษณะเช่นไร ?
ก. เจ้าระเบียบ ข. โกรธง่าย
ค. เชื่อคนง่าย ง. ลืมง่าย
คำตอบ : ข
๔๔. คนโทสจริต ควรเจริญกัมมัฏฐานอะไร ?
ก. เมตตา ข. จาคานุสสติ
ค. อสุภะ ง. มรณานุสสติ
คำตอบ : ก
๔๕. คนมีสติไม่มั่นคง หลงๆ ลืมๆ ตรงกับจริตใด ?
ก. วิตักกจริต ข. พุทธิจริต
ค. โมหจริต ง. สัทธาจริต
คำตอบ : ค
๔๖. คนมีสติไม่มั่นคง ควรแก้ด้วยวิธีใด ?
ก. พิจารณาความตาย ข. กำหนดลมหายใจ
ค. พิจารณาอสุภะ ง. กำหนดธาตุ ๔
คำตอบ : ข
๔๗. การแสดงธรรมโปรดสัตว์ จัดเป็นพุทธคุณข้อใด ?
ก. พระปัญญาคุณ ข. พระวิสุทธิคุณ
ค. พระกรุณาคุณ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ค
๔๘. จตุธาตุววัตถาน ท่านให้กำหนดพิจารณากายให้เห็นว่า... ?
ก. เป็นเพียงสมมติว่าธาตุ ๔
ข. เป็นเพียงธาตุ ๔ ประชุมกัน
ค. ธาตุ ๔ เป็นนิพพานบัญญัติ
ง. ธาตุ ๔
เป็นปรมัตถบัญญัติ
คำตอบ : ก
๔๙. บุคคลเช่นไร เจริญวิปัสสนากัมมัฏฐานไม่ได้ผล ?
ก. มีจิตฟุ้งซ่าน ข. มีศีลไม่บริสุทธิ์
ค. ไม่รู้วิปัสสนาภูมิ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๕๐. ประโยชน์สูงสุดของการเจริญวิปัสสนากัมมัฏฐาน คืออะไร ?
ก. พ้นจากสังสารทุกข์ ข. ระงับนิวรณ์
ค. กำจัดความสงสัย ง. พ้นจากอบาย
คำตอบ : ก
*** ***
***
เฉลยวิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันพฤหัสบดี ที่ ๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๐
๑. |
ค |
๑๑. |
ค |
๒๑. |
ก |
๓๑. |
ง |
๔๑. |
ข |
๒. |
ข |
๑๒. |
ก |
๒๒. |
ข |
๓๒. |
ข |
๔๒. |
ก |
๓. |
ข |
๑๓. |
ง |
๒๓. |
ค |
๓๓. |
ง |
๔๓. |
ข |
๔. |
ข |
๑๔. |
ก |
๒๔. |
ข |
๓๔. |
ก |
๔๔. |
ก |
๕. |
ง |
๑๕. |
ก |
๒๕. |
ค |
๓๕. |
ง |
๔๕. |
ค |
๖. |
ค |
๑๖. |
ข |
๒๖. |
ง |
๓๖. |
ก |
๔๖. |
ข |
๗. |
ก |
๑๗. |
ก |
๒๗. |
ก |
๓๗. |
ก |
๔๗. |
ค |
๘. |
ข |
๑๘. |
ง |
๒๘. |
ง |
๓๘. |
ง |
๔๘. |
ก |
๙. |
ง |
๑๙. |
ง |
๒๙. |
ก |
๓๙. |
ค |
๔๙. |
ง |
๑๐. |
ก |
๒๐. |
ค |
๓๐. |
ข |
๔๐. |
ก |
๕๐. |
ก |
ปัญหาและเฉลยวิชาพุทธานุพุทธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันศุกร์ ที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๙
เวลา
๑๔.๐๐ น.
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว
แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ
ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
คำตอบ : ง
คำตอบ : ข
คำตอบ : ง
คำตอบ : ค
คำตอบ : ข
คำตอบ : ค
คำตอบ : ข
คำตอบ : ข
คำตอบ : ค
คำตอบ : ค
คำตอบ : ง
คำตอบ : ค
คำตอบ : ข
คำตอบ : ค
คำตอบ : ก
คำตอบ : ค
คำตอบ : ก
คำตอบ : ค
คำตอบ : ง
คำตอบ : ก
คำตอบ : ง
คำตอบ : ก
คำตอบ : ง
คำตอบ : ก
คำตอบ : ง
คำตอบ : ข
คำตอบ : ง
คำตอบ : ง
คำตอบ : ข
คำตอบ : ค
คำตอบ : ข
คำตอบ : ง
คำตอบ : ข
คำตอบ : ค
คำตอบ : ก
คำตอบ : ข
คำตอบ : ค
คำตอบ : ก
คำตอบ : ก
คำตอบ : ข
คำตอบ : ข
คำตอบ : ง
คำตอบ : ค
คำตอบ : ค
คำตอบ : ง
คำตอบ : ง
คำตอบ : ก
คำตอบ : ง
คำตอบ : ง
คำตอบ : ง
*** ***
***
เฉลยวิชาพุทธานุพุทธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันพฤหัสบดี ที่ ๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๐
๑. |
ง |
๑๑. |
ง |
๒๑. |
ง |
๓๑. |
ข |
๔๑. |
ข |
๒. |
ข |
๑๒. |
ค |
๒๒. |
ก |
๓๒. |
ง |
๔๒. |
ง |
๓. |
ง |
๑๓. |
ข |
๒๓. |
ง |
๓๓. |
ข |
๔๓. |
ค |
๔. |
ค |
๑๔. |
ค |
๒๔. |
ก |
๓๔. |
ค |
๔๔. |
ค |
๕. |
ข |
๑๕. |
ก |
๒๕. |
ง |
๓๕. |
ก |
๔๕. |
ง |
๖. |
ค |
๑๖. |
ค |
๒๖. |
ข |
๓๖. |
ข |
๔๖. |
ง |
๗. |
ข |
๑๗. |
ก |
๒๗. |
ง |
๓๗. |
ค |
๔๗. |
ก |
๘. |
ข |
๑๘. |
ค |
๒๘. |
ง |
๓๘. |
ก |
๔๘. |
ง |
๙. |
ค |
๑๙. |
ง |
๒๙. |
ข |
๓๙. |
ก |
๔๙. |
ง |
๑๐. |
ค |
๒๐. |
ก |
๓๐. |
ค |
๔๐. |
ข |
๕๐. |
ง |
ปัญหาและเฉลยวิชากรรมบถ (วินัย)
ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันศุกร์ ที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๙
เวลา
๑๕.๐๐ น.
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว
แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ
ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑. พระพุทธศาสนาสอนให้เชื่อในเรื่องใด ?
ก. เรื่องพรหมลิขิต ข. เรื่องดวง
ค. เรื่องการกระทำ ง. เรื่องลี้ลับ
คำตอบ : ค
๒. คนจะดีหรือเลว พิจารณาจากอะไร ?
ก. การกระทำ ข. คำพูด
ค. ความคิด ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๓. การกระทำต่างๆ
ของบุคคลในโลกนี้ จะสำเร็จเป็นกรรมบถหรือไม่
มีอะไรเป็นเครื่องกำหนด ?
ค. ทุจริต ง. สุจริต
คำตอบ : ก
๔. สุขหรือทุกข์ของสรรพสัตว์ ขึ้นอยู่กับอะไร ?
ก. ดวงชะตา ข. ปาฏิหาริย์
ค. เทพเจ้า ง. การกระทำ
คำตอบ : ง
๕. การกระทำทางกาย วาจา ใจ รวมเรียกว่าอะไร ?
ก. กรรม ข. เจตนา
ค. เวทนา ง. อารมณ์
คำตอบ : ก
๖. ผลแห่งกรรมชั่วที่บุคคลจะพึงได้รับในชาติหน้า ตรงกับข้อใด ?
ก. เกิดเป็นมนุษย์ ข. เกิดเป็นเทวดา
ค. เกิดเป็นพรหม ง. เกิดเป็นเปรต
คำตอบ : ง
๗. อารมณ์เป็นเหตุให้กระทำกรรมนั้นๆ มีความหมายตรงกับข้อใด ?
ก. สิ่งที่ใจเข้าไปยึดเหนี่ยว ข. สิ่งที่เกิดร่วมกับเจตนา
ค. รากเหง้าของอกุศลอื่น ง. กรรมเกิดในมโนทวาร
คำตอบ : ก
๘. ปกติของจิตเป็นธรรมชาติใสสะอาด แต่กลายสภาพเป็นความ
โหดร้าย ด้วยอำนาจแห่งอกุศลมูลใด ?
คำตอบ : ข
๙. กรรมลิขิต
มีความหมายตรงกับข้อใด ?
ก. เกิดเป็นมนุษย์ ข. เกิดเป็นเทวดา
ค. เกิดเป็นสัตว์นรก ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๑๐. ข้อใด เป็นทางนำไปสู่สุคติที่ทุกคนต่างปรารถนา ?
คำตอบ : ค
คำตอบ : ค
๑๒. การฆ่าสัตว์ตัดชีวิต เบียดเบียนซึ่งกันและกัน
เป็นกรรมชนิดใด ?
ก. กายกรรม ข. วจีกรรม
ค. มโนกรรม ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ก
๑๓. ข้อใด ไม่ใช่ปาณาติบาตที่เกิดขึ้นทางกายทวาร ?
ก. ใช้มีดฟันให้ตาย ข. ทำกับดักให้ตกไปตาย
ค. ใช้ปืนยิงให้ตาย ง. สั่งให้คนอื่นฆ่าให้ตาย
คำตอบ : ง
๑๔. ข้อใด ไม่เป็นอารมณ์แห่งปาณาติบาต ?
ก. เงิน ข. นก
ค. ปลา ง. ม้า
คำตอบ : ก
๑๕. วางท่อนไม้ วางศัสตรา มีเมตตาจิตต่อกัน ตรงกับข้อใด ?
ก. ละปาณาติบาต ข. ละอทินนาทาน
ค. ละกาเมสุมิจฉาจาร ง.
ละมุสาวาท
คำตอบ : ก
๑๖. ข้อใด ไม่ใช่องค์แห่งปาณาติบาต ?
ก. สัตว์มีชีวิต ข. รู้ว่าสัตว์มีชีวิต
ค. พยายามฆ่า ง. รู้ว่าสัตว์ตาย
คำตอบ : ง
๑๗. วัตถุอันเป็นที่ตั้งแห่งอทินนาทาน ตรงกับข้อใด ?
ก. มีเจ้าของ ข. เขาหวงแหน
ค. เขายังไม่ให้ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๑๘. การฉ้อโกงทรัพย์สินของชาติ จัดเป็นกรรมบถข้อใด ?
ก. ปาณาติบาต ข. อทินนาทาน
ค. กาเมสุมิจฉาจาร ง. มุสาวาท
คำตอบ : ข
๑๙. สั่งให้คนอื่นไปลักทรัพย์ เป็นกายกรรมเกิดขึ้นทางทวารใด ?
ก. กายทวาร ข. วจีทวาร
ค. มโนทวาร ง. ทั้ง ๓ ทวาร
คำตอบ : ข
๒๐. เมื่อความโลภเกิดขึ้น หากยับยั้งไม่ได้ จะทำให้คนเรากระทำ
ความผิดใด ?
ก. คอร์รัปชั่น ข. ผูกอาฆาต
ค. พยาบาท ง. เชื่อเรื่องผิด
คำตอบ : ก
๒๑. ข้อใด เป็นอารมณ์แห่งกาเมสุมิจฉาจาร ?
ก. บุรุษ ข. สตรี
ค. ซากศพ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๒๒. กาเมสุมิจฉาจาร เกิดขึ้นทางทวารใด ?
ก. กายทวาร ข. วจีทวาร
ค. มโนทวาร ง. ทั้ง ๓ ทวาร
คำตอบ : ค
๒๓. วจีกรรมข้อใด เรียกว่ามุสาวาท ?
ก. พูดเท็จ ข. พูดคำหยาบ
ค. พูดส่อเสียด ง. พูดเพ้อเจ้อ
คำตอบ : ก
๒๔. มุสาวาทเช่นใด ไม่สำเร็จเป็นกรรมบถ ?
ก ผู้ฟังเข้าใจ ข. ผู้ฟังไม่เข้าใจ
ค. ผู้ฟังเสียประโยชน์ ง. ผู้ฟังเชื่อถือ
คำตอบ : ข
๒๕. คำพูดเช่นไร ทำให้คนแตกความสามัคคีกันมากที่สุด ?
ก. พูดให้ร้ายผู้อื่น ข. พูดไร้สาระ
ค. พูดให้แตกแยก ง. พูดโกหก
คำตอบ : ค
๒๖. ปิสุณวาจา ผู้พูดตั้งใจจะให้เกิดผลอย่างไร ?
ก. เพื่อหลอกลวง ข. เพื่อล้อเล่น
ค. เพื่อให้แตกแยก ง. เพื่อให้เจ็บใจ
คำตอบ : ค
๒๗. ผรุสวาจาที่บุคคลประกอบในที่เช่นใด มีโทษมาก ?
ก. ลับหู ข. ลับตา
ค. ต่อหน้า ง. ลับหลัง
คำตอบ : ค
๒๘. ข้อใด ไม่จัดเป็นผรุสวาจาที่ถึงความเป็นกรรมบถ ?
ก. ด่าลูกเพื่อสั่งสอน ข. ด่าเพื่อนเพราะโมโห
ค. ด่าน้าชอบเมาสุรา ง. ด่าลูกน้องที่ขี้เกียจ
คำตอบ : ก
๒๙. ข้อใด ไม่ใช่ลักษณะของผรุสวาจา ?
ก. ด่า ข. พูดประชด
ค. พูดแดกดัน ง. พูดเสียงดัง
คำตอบ : ง
๓๐. เจตนาเป็นเหตุกล่าวถ้อยคำหาประโยชน์มิได้ ตรงกับข้อใด ?
ก. มุสาวาท ข. ปิสุณวาจา
ค. ผรุสวาจา ง. สัมผัปปลาปะ
คำตอบ : ง
๓๑. พูดคุยเรื่องละครทีวีในขณะฟังเทศน์ จัดเป็นวจีกรรมใด ?
ก. มุสาวาท ข. ปิสุณวาจา
ค. ผรุสวาจา ง. สัมผัปปลาปะ
คำตอบ : ง
๓๒. คนเราสามารถจะทำความดีทางวาจาได้อย่างไร ?
ก. ไม่คิดทำร้ายผู้อื่น ข. ไม่อยากได้ของผู้อื่น
ค. ไม่พูดให้ร้ายผู้อื่น ง. ไม่คิดปองร้ายผู้อื่น
คำตอบ : ค
๓๓. เมื่อถูกถามกลับสั่นศีรษะปฏิเสธ จัดเป็นกรรมประเภทใด ?
ก. กายกรรม ข. วจีกรรม
ค. มโนกรรม ง. ทั้ง ๓ กรรม
คำตอบ : ก
๓๔. เพ่งเล็งอยากได้ของผู้อื่นด้วยอำนาจโลภะ ตรงกับข้อใด ?
ก. อนภิชฌา ข. อภิชฌา
ค. มิจฉาทิฏฐิ ง. พยาบาท
คำตอบ : ข
๓๕. เห็นว่าทานที่ให้แล้วมีผลจริง ตรงกับข้อใด ?
ก. สัมมาทิฏฐิ ข. นัตถิกทิฏฐิ
ค. อเหตุกทิฏฐิ ง. อกิริยทิฏฐิ
คำตอบ : ก
๓๖. คิดให้ผู้อื่นประสบความพินาศ ตรงกับข้อใด ?
ก. อภิชฌา ข. อนภิชฌา
ค. พยาบาท ง. อพยาบาท
คำตอบ : ค
๓๗. เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร ตรงกับข้อใด ?
ก. อพยาบาท ข. อนภิชฌา
ค. สัมมาทิฏฐิ ง. มิจฉาทิฏฐิ
คำตอบ : ก
๓๘. ตาต่อตา ฟันต่อฟัน เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากข้อใด ?
ก. อภิชฌา ข. พยาบาท
ค. มิจฉาทิฏฐิ ง. อพยาบาท
คำตอบ : ข
๓๙. อภิชฌาที่สำเร็จเป็นกรรมบถ มีอาการเช่นไร ?
ก. อยากได้ของคนอื่น ข. อยากได้ชั่วคราว
ค. อยากได้เหมือนเขา ง. อยากได้อย่างนั้น
คำตอบ : ก
๔๐. อกุศลกรรมบถข้อใด ท่านกล่าวว่ามีโทษมากที่สุด ?
ก. อภิชฌา ข. พยาบาท
ค. มิจฉาทิฏฐิ ง. มุสาวาท
คำตอบ : ค
๔๑. มิจฉาทิฏฐิ เป็นกรรมเกิดขึ้นทางทวารใด ?
ก. กายทวาร ข. วจีทวาร
ค. มโนทวาร ง. ทั้ง ๓ ทวาร
คำตอบ : ง
๔๒. ความบริสุทธิ์ทางใจ มี ๓ อย่าง ยกเว้นข้อใด ?
ก. อภิชฌา ข. อนภิชฌา
ค. อพยาบาท ง. สัมมาทิฏฐิ
คำตอบ : ก
๔๓. คนที่มีเมตตากรุณา จะเว้นห่างจากอกุศลธรรมใด ?
ก. อภิชฌา ข. พยาบาท
ค. มิจฉาทิฏฐิ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ข
๔๔. ความไม่อาฆาตมาดร้าย
จัดเป็นธรรมจริยาและสมจริยาทางใด ?
ก. ทางกาย ข. ทางวาจา
ค. ทางใจ ง.
ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ค
๔๕. การละกาเมสุมิจฉาจาร
จัดเป็นธรรมจริยาและสมจริยาทางใด ?
ก. ทางกาย ข. ทางวาจา
ค. ทางใจ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ก
๔๖. ความรู้สึกอิ่มใจในขณะทำบุญตักบาตร จัดเป็นเวทนาใด ?
ก. สุขเวทนา ข. ทุกขเวทนา
ค. โสมนัสสเวทนา ง. อุเบกขาเวทนา
คำตอบ : ค
๔๗. ทานุปนิสัย เป็นธรรมกำจัดอะไร ?
ก. ความโลภ ข. ความโกรธ
ค. ความหลง ง. ความเบียดเบียน
คำตอบ : ก
๔๘. สีลุปนิสัย เป็นธรรมกำจัดอะไร ?
ก. ความโลภ ข.
ความโกรธ
ค. ความหลง ง.
ความเบียดเบียน
คำตอบ : ง
๔๙. ภาวนุปนิสัย เป็นธรรมกำจัดอะไร ?
ก. ความโลภ ข. ความโกรธ
ค. ความหลง ง. ความเบียดเบียน
คำตอบ : ค
๕๐. รักสุขหวังสบาย อย่าลืมสร้างทางกุศล สอนเกี่ยวกับเรื่องใด ?
ก. ไม่ทำความชั่ว ข. ทำแต่ความดี
ค. ทำจิตให้ผ่องใส ง.
ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
เฉลยวิชากรรมบถ (วินัย) ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันพฤหัสบดี ที่ ๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๐
๑. |
ค |
๑๑. |
ค |
๒๑. |
ง |
๓๑. |
ง |
๔๑. |
ง |
๒. |
ง |
๑๒. |
ก |
๒๒. |
ค |
๓๒. |
ค |
๔๒. |
ก |
๓. |
ก |
๑๓. |
ง |
๒๓. |
ก |
๓๓. |
ก |
๔๓. |
ข |
๔. |
ง |
๑๔. |
ก |
๒๔. |
ข |
๓๔. |
ข |
๔๔. |
ค |
๕. |
ก |
๑๕. |
ก |
๒๕. |
ค |
๓๕. |
ก |
๔๕. |
ก |
๖. |
ง |
๑๖. |
ง |
๒๖. |
ค |
๓๖. |
ค |
๔๖. |
ค |
๗. |
ก |
๑๗. |
ง |
๒๗. |
ค |
๓๗. |
ก |
๔๗. |
ก |
๘. |
ข |
๑๘. |
ข |
๒๘. |
ก |
๓๘. |
ข |
๔๘. |
ง |
๙. |
ง |
๑๙. |
ข |
๒๙. |
ง |
๓๙. |
ก |
๔๙. |
ค |
๑๐. |
ค |
๒๐. |
ก |
๓๐. |
ง |
๔๐. |
ค |
๕๐. |
ง |